หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด (บีบีซีนิวส์) นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นโคลนหนูขึ้นจ การแปล - หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด (บีบีซีนิวส์) นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นโคลนหนูขึ้นจ ไทย วิธีการพูด

หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด (บีบีซีนิวส์

หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด (บีบีซีนิวส์)

นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นโคลนหนูขึ้นจากเลือดหยดเดียว โดยใช้เลือดจากหางของหนูตัวให้เพื่อผลิต “หนูโคลน” ที่ได้ออกมาเป็นเพศเมีย มีอายุยืนตามปกติและออกลูกได้

การโคลนหนูดังกล่าวเป็นผลงานของทีมนักวิทยาศาสตร์จากศูนย์ริเกนไบโอรเสิร์ช (Riken BioResource Center) ในสึคุบะ ญี่ปุ่น ซึ่งบีบีซีนิวส์รายงานว่า พวกเขาได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชัน (Biology of Reproduction)

หนูที่ถูกโคลนออกมานั้นมีชวิตยืนยาวตามปกติและออกลูกได้ ซึ่งกว่าจะได้หนูโคลนนิงดังกล่าวทีมนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นได้สำเนาที่ถอดแบบพันธุกรรมของหนูตัวหนึ่งถึง 600 สำเนา โดยอาศัยพันธุกรรมจากหลายส่วนในร่างกายหนู รวมถึงเซลล์เม็ดขาวจากต่อมน้ำเหลือง ไขกระดูกและตับ

ทั้งนีี้ ทีมวิจัยญี่ปุ่นพยายามพิสูจน์ว่า เซลล์เลือดที่ไหลเวียนในร่างกายนั้นสามารถนำไปโคลนได้เช่นกัน ผโดยเป้าหมายเพื่อหาแหล่งพันธุกรรมที่หาได้ง่ายจากเซลล์เพื่อโคลนหนูทดลองที่มีสายพันธุ์มีคุณค่าทางวิทยาศาสตร์

งานวิจัยดังกล่าวนำโดย อัตซูโอะ โอกูระ (Atsuo Ogura) จากศูนย์ริเกนไบโอซอร์ส ซึ่งพวกเขาได้นำเลือดจากหางของหนูบริจาค จากนั้นยกเอาเซลล์เม็ดเลือดขาวออก ใช้เฉพาะนิวเคลียสของเซลล์เพื่อทดลองโคลนนิง เทคนิคเดียวกับการผลิตแกะดอลลี่ (Dolly) สัตว์เลี้ยงลูกนมโคลนนิงตัวแรกในเอดินบะระ สหราชอาณาจักร

เทคนิคดังกล่าวคือการย้ายฝากนิวเคลียสเซลล์ร่างกาย (somatic cell nuclear transfer) ซึ่งเป็นการย้ายฝากนิวเคลียสจากเซลล์ร่างกายตัวเต็มวัย เช่น เลือด หรือ เซลล์ผิวหนัง เป็นต้น เข้าไปยังเซลล์ไข่ที่ยังไม่ได้รับการผสม และถูกนำนิวเคลียสออก

บีบีซีนิวส์ระบุว่าในรายงานวิจัยที่ตีพิมพ์ลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชันนั้น นักวิทยาศาสตร์ได้แจงถึงการศึกษาดังกล่าวว่า เป็นการสาธิตครั้งแรกว่าหนูถูกโคลนได้ด้วยการใช้นิวเคลียสของเซลล์เลือด และใช้เซลล์ที่ได้มาโคลนทันทีหลังเก็บจากสัตว์ตัวให้พันธุกรรม โดยที่เราไม่จำเป็นต้องฆ่าสัตว์เหล่านั้นด้วย

ทีมวิจัยระบุว่าเทคนิคนี้จะประยุกต์ได้สำหรับการสร้างสำเนาสายพันธุ์หนูที่ประเมินค่าไม่ได้ ซึ่งไม่อาจรักษาไว้ด้วยเทคนิคขยายพันธุ์อื่นแบบเดิมๆ อย่างการเพาะเลี้ยงจากหลอดแก้วแบบไอวีเอฟ (in vitro fertilisation: IVF) หรือการฉีดอสุจิเข้าไปผสมโดยตรงแบบอิคซี่ (intracytoplasmic sperm injection: ICSI) ได้

นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นทีมนี้ใช้เวลาอยู่หลายปีในการโคลนหนู และได้เผยให้เห็นหนูเกือบ 600 ตัวที่ได้จากการโคลนหนูตัวเดียวอย่างต่อเนื่อง 25 รอบ โดยงานวิจัยนี้ยังมีเป้าหมายเพื่อการผลิตขนาดใหญ่สำหรับสัตว์ที่มีคุณภาพสูงในระดับฟาร์มหรือเพื่อการอนุรักษ์

ด้าน ศ.โรบิน โลเวลล์-แบดจ์ (Professor Robin Lovell-Badge) จากสถาบันวิจัยการแพทย์การแพทย์เอ็มอาร์ซี (MRC National Institute of Medical Research) ในลอนดอน อังกฤษ ให้ความเห็นว่า งานวิจัยดังกล่าวเป็นความก้าวหน้าเล็กๆ ที่ได้จากงานวิจัยก่อนหน้าที่แสดงให้เห็นว่า เป็นไปได้ที่จะโคลนหนูจากเซลล์เต็มวัยหลายๆ ชนิด ซึ่งรวมถึงเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย

โลเวลล์-แบดจ์กล่าวว่า การโคลนจากเซลล์เลือดนี้ให้ประสิทธิภาพที่ดีมาก ซึ่งบ่งบอกว่าแม้แต่เลือดหยดเล็กๆ ก็เพียงพอที่จะใช้ในการโคลนเพื่อเพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตที่หาได้ยากหรือเป็นชนิดที่มีคุณค่ามากๆ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด (บีบีซีนิวส์) นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นโคลนหนูขึ้นจากเลือดหยดเดียวโดยใช้เลือดจากหางของหนูตัวให้เพื่อผลิต "หนูโคลน" ที่ได้ออกมาเป็นเพศเมียมีอายุยืนตามปกติและออกลูกได้ การโคลนหนูดังกล่าวเป็นผลงานของทีมนักวิทยาศาสตร์จากศูนย์ริเกนไบโอรเสิร์ช (อาทิ BioResource ศูนย์) ในสึคุบะญี่ปุ่นซึ่งบีบีซีนิวส์รายงานว่า-พวกเขาได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชันสาขาชีววิทยาของการสืบพันธุ์) หนูที่ถูกโคลนออกมานั้นมีชวิตยืนยาวตามปกติและออกลูกได้ซึ่งกว่าจะได้หนูโคลนนิงดังกล่าวทีมนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นได้สำเนาที่ถอดแบบพันธุกรรมของหนูตัวหนึ่งถึง 600 สำเนาโดยอาศัยพันธุกรรมจากหลายส่วนในร่างกายหนูรวมถึงเซลล์เม็ดขาวจากต่อมน้ำเหลืองไขกระดูกและตับ ทั้งนีี้ทีมวิจัยญี่ปุ่นพยายามพิสูจน์ว่าเซลล์เลือดที่ไหลเวียนในร่างกายนั้นสามารถนำไปโคลนได้เช่นกันผโดยเป้าหมายเพื่อหาแหล่งพันธุกรรมที่หาได้ง่ายจากเซลล์เพื่อโคลนหนูทดลองที่มีสายพันธุ์มีคุณค่าทางวิทยาศาสตร์ งานวิจัยดังกล่าวนำโดยอัตซูโอะโอกูระ (Atsuo พร้อม) จากศูนย์ริเกนไบโอซอร์สซึ่งพวกเขาได้นำเลือดจากหางของหนูบริจาคจากนั้นยกเอาเซลล์เม็ดเลือดขาวออกใช้เฉพาะนิวเคลียสของเซลล์เพื่อทดลองโคลนนิงเทคนิคเดียวกับการผลิตแกะดอลลี่ (ดอลลี่ในปัจจุบัน) สัตว์เลี้ยงลูกนมโคลนนิงตัวแรกในเอดินบะระสหราชอาณาจักร เทคนิคดังกล่าวคือการย้ายฝากนิวเคลียสเซลล์ร่างกาย (มาติกเซลล์นิวเคลียร์โอนซึ่งเป็นการย้ายฝากนิวเคลียสจากเซลล์ร่างกายตัวเต็มวัยเช่นเลือดหรือเซลล์ผิวหนังเป็นต้นเข้าไปยังเซลล์ไข่ที่ยังไม่ได้รับการผสมและถูกนำนิวเคลียสออก บีบีซีนิวส์ระบุว่าในรายงานวิจัยที่ตีพิมพ์ลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชันนั้นนักวิทยาศาสตร์ได้แจงถึงการศึกษาดังกล่าวว่าเป็นการสาธิตครั้งแรกว่าหนูถูกโคลนได้ด้วยการใช้นิวเคลียสของเซลล์เลือดและใช้เซลล์ที่ได้มาโคลนทันทีหลังเก็บจากสัตว์ตัวให้พันธุกรรมโดยที่เราไม่จำเป็นต้องฆ่าสัตว์เหล่านั้นด้วย ทีมวิจัยระบุว่าเทคนิคนี้จะประยุกต์ได้สำหรับการสร้างสำเนาสายพันธุ์หนูที่ประเมินค่าไม่ได้ซึ่งไม่อาจรักษาไว้ด้วยเทคนิคขยายพันธุ์อื่นแบบเดิม ๆ อย่างการเพาะเลี้ยงจากหลอดแก้วแบบไอวีเอฟ (ปฏิสนธิ: IVF) หรือการฉีดอสุจิเข้าไปผสมโดยตรงแบบอิคซี่ (ฉีดสเปิร์ม intracytoplasmic: อำนวย) ได้ โดยงานวิจัยนี้ยังมีเป้าหมายเพื่อการผลิตขนาดใหญ่สำหรับสัตว์ที่มีคุณภาพสูงในระดับฟาร์มหรือเพื่อการอนุรักษ์นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นทีมนี้ใช้เวลาอยู่หลายปีในการโคลนหนูและได้เผยให้เห็นหนูเกือบ 600 ตัวที่ได้จากการโคลนหนูตัวเดียวอย่างต่อเนื่อง 25 รอบ ด้านศ.โรบินโลเวลล์-แบดจ์ (ศาสตราจารย์โรบินโลเวลลอด์จป้ายชื่อ) จากสถาบันวิจัยการแพทย์การแพทย์เอ็มอาร์ซี (MRC แห่งชาติ สถาบันวิจัยทางการแพทย์) ในลอนดอนอังกฤษให้ความเห็นว่างานวิจัยดังกล่าวเป็นความก้าวหน้าเล็ก ๆ ที่ได้จากงานวิจัยก่อนหน้าที่แสดงให้เห็นว่าเป็นไปได้ที่จะโคลนหนูจากเซลล์เต็มวัยหลาย ๆ สิ่งซึ่งรวมถึงเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย ก็เพียงพอที่จะใช้ในการโคลนเพื่อเพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตที่หาได้ยากหรือเป็นชนิดที่มีคุณค่ามาก ๆ ซึ่งบ่งบอกว่าแม้แต่เลือดหยดเล็ก ๆ การโคลนจากเซลล์เลือดนี้ให้ประสิทธิภาพที่ดีมากโลเวลล์แบดจ์กล่าวว่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด "หนูโคลน" ที่ได้ออกมาเป็นเพศเมีย (Riken Bioresource ศูนย์) ในสึคุบะญี่ปุ่นซึ่งบีบีซีนิวส์รายงานว่า (ชีววิทยาของ 600 สำเนา ตับและไขกระดูกทั้งนีี้ทีมวิจัยญี่ปุ่นพยายามพิสูจน์ว่าได้ อัตซูโอะโอกูระ (Atsuo Ogura) จากศูนย์ริเกนไบโอซอร์ส จากนั้นยกเอาเซลล์เม็ดเลือดขาวออก เทคนิคเดียวกับการผลิตแกะดอลลี่ (ดอลลี่) (เซลล์ร่างกายโอนนิวเคลียร์) เช่นเลือดหรือเซลล์ผิวหนังเป็นต้น (ปฏิสนธิในหลอดทดลอง: IVF) (การฉีดอสุจิ: ICSI) และได้เผยให้เห็นหนูเกือบ 600 25 รอบ ศโรบินโลเวลล์ -. แบดจ์ (ศาสตราจารย์โรบินโลเวลล์-Badge) (MRC สถาบันแห่งชาติของการวิจัยทางการแพทย์) ในลอนดอนอังกฤษให้ความเห็นว่า ชนิด ซึ่งบ่งบอกว่าแม้แต่เลือดหยดเล็ก ๆ





















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หนูที่โคลนขึ้นจากเลือด ( บีบีซีนิวส์ )

นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นโคลนหนูขึ้นจากเลือดหยดเดียวโดยใช้เลือดจากหางของหนูตัวให้เพื่อผลิต " หนูโคลน " ที่ได้ออกมาเป็นเพศเมียมีอายุยืนตามปกติและออกลูกได้

การโคลนหนูดังกล่าวเป็นผลงานของทีมนักวิทยาศาสตร์จากศูนย์ริเกนไบโอรเสิร์ช ( ศูนย์ทรัพยากรชีวภาพริเคน ) ในสึคุบะญี่ปุ่นซึ่งบีบีซีนิวส์รายงานว่าพวกเขาได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชัน ( ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของ )

หนูที่ถูกโคลนออกมานั้นมีชวิตยืนยาวตามปกติและออกลูกได้ซึ่งกว่าจะได้หนูโคลนนิงดังกล่าวทีมนักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นได้สำเนาที่ถอดแบบพันธุกรรมของหนูตัวหนึ่งถึง 600 สำเนารวมถึงเซลล์เม็ดขาวจากต่อมน้ำเหลืองไขกระดูกและตับ

ทั้งนีี้ทีมวิจัยญี่ปุ่นพยายามพิสูจน์ว่าเซลล์เลือดที่ไหลเวียนในร่างกายนั้นสามารถนำไปโคลนได้เช่นกัน
งานวิจัยดังกล่าวนำโดยอัตซูโอะโอกูระ ( อัต โอกุระ ) จากศูนย์ริเกนไบโอซอร์สซึ่งพวกเขาได้นำเลือดจากหางของหนูบริจาคจากนั้นยกเอาเซลล์เม็ดเลือดขาวออกใช้เฉพาะนิวเคลียสของเซลล์เพื่อทดลองโคลนนิง( ดอลลี่ ) สัตว์เลี้ยงลูกนมโคลนนิงตัวแรกในเอดินบะระสหราชอาณาจักร

เทคนิคดังกล่าวคือการย้ายฝากนิวเคลียสเซลล์ร่างกาย ( โซมาติกเซลล์นิวเคลียร์โอน ) ซึ่งเป็นการย้ายฝากนิวเคลียสจากเซลล์ร่างกายตัวเต็มวัยเช่นเลือดค็อคเซลล์ผิวหนังเป็นต้นเข้าไปยังเซลล์ไข่ที่ยังไม่ได้รับการผสม
บีบีซีนิวส์ระบุว่าในรายงานวิจัยที่ตีพิมพ์ลงวารสารไบโอโลจีออฟรีโปรดัคชันนั้นนักวิทยาศาสตร์ได้แจงถึงการศึกษาดังกล่าวว่าเป็นการสาธิตครั้งแรกว่าหนูถูกโคลนได้ด้วยการใช้นิวเคลียสของเซลล์เลือดโดยที่เราไม่จำเป็นต้องฆ่าสัตว์เหล่านั้นด้วย

ทีมวิจัยระบุว่าเทคนิคนี้จะประยุกต์ได้สำหรับการสร้างสำเนาสายพันธุ์หนูที่ประเมินค่าไม่ได้ซึ่งไม่อาจรักษาไว้ด้วยเทคนิคขยายพันธุ์อื่นแบบเดิมๆอย่างการเพาะเลี้ยงจากหลอดแก้วแบบไอวีเอฟ ( การปฏิสนธินอกร่างกาย :หรือการฉีดอสุจิเข้าไปผสมโดยตรงแบบอิคซี่ ( IVF ) intracytoplasmic อสุจิฉีด : icsi ) ได้

นักวิทยาศาสตร์ญี่ปุ่นทีมนี้ใช้เวลาอยู่หลายปีในการโคลนหนูและได้เผยให้เห็นหนูเกือบ 600 ตัวที่ได้จากการโคลนหนูตัวเดียวอย่างต่อเนื่อง 25 a research note
ด้านศ .โรบินโลเวลล์ - แบดจ์ ( ศาสตราจารย์โรบิน โลเวลล์ ป้ายจากสถาบันวิจัยการแพทย์การแพทย์เอ็มอาร์ซี ( MRC ) สถาบันการวิจัยทางการแพทย์ ) ในลอนดอนอังกฤษให้ความเห็นว่างานวิจัยดังกล่าวเป็นความก้าวหน้าเล็กๆเป็นไปได้ที่จะโคลนหนูจากเซลล์เต็มวัยหลายๆชนิดซึ่งรวมถึงเซลล์เม็ดเลือดขาวด้วย

โลเวลล์ - แบดจ์กล่าวว่าการโคลนจากเซลล์เลือดนี้ให้ประสิทธิภาพที่ดีมากซึ่งบ่งบอกว่าแม้แต่เลือดหยดเล็กๆก็เพียงพอที่จะใช้ในการโคลนเพื่อเพิ่มจำนวนสิ่งมีชีวิตที่หาได้ยากหรือเป็นชนิดที่มีคุณค่ามากๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: