โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ที่  การแปล - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ที่  ไทย วิธีการพูด

โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อ

โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตั้งอยู่ที่ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี บริเวณศูนย์อำนวยการโครงการพัฒนา กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ตั้งอยู่ระหว่างค่าพิกัด X = 596000 – 601000 และระหว่างค่าพิกัด Y = 1400000 - 1407000 ในระบบ WGS84 บนแผนที่ประเทศไทย ลำดับชุดที่ L7018 ระวางแผนที่ 4934 II มีพื้นที่ทั้งหมดของโครงการ 22,627 ไร่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี อันเป็นพื้นที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีประกาศพระบรมราชโองการให้เป็นที่หลวงเมื่อปี 2466 และ ปี 2467 เดิมพื้นที่แห่งนี้มี สภาพป่าไม้เป็นที่อุดมสมบูรณ์มีสัตว์ป่าประเภทเนื้อทรายอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า “ ห้วยทราย ” ต่อมาราษฎรได้เข้ามาอาศัยทำกินบุกรุกแผ้วถางป่า และได้ประกอบอาชีพตามยถากรรม ภายในเวลาไม่ถึง 40 ปี ป่าไม้ได้ถูกทำลายโดยสิ้นเชิง ทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล และมีปริมาณลดน้อยลงจนมีลักษณะเป็นพื้นที่อับฝน ดินขาดการบำรุงรักษาจนเกิดความไม่สมดุลย์ทางธรรมชาติ การพังทลายของผิวดินค่อนข้างสูง ประกอบกับราษฎรส่วนใหญ่ปลูกสับปะรดซึ่งต้องใช้สารเคมีมาก ทำให้คุณภาพของดินตกต่ำลงไปอีก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสว่า “ หากปล่อยทิ้งไว้จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด ” เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2526 ได้พระราชทานพระราชดำริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ องคมนตรี และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้พัฒนาเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้เอนกประสงค์ จัดให้ราษฎรที่ทำกินอยู่เดิมมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ ได้ประโยชน์และไม่ทำลายป่าไม้อีกต่อไป มุ่งที่จะศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรควบคู่ไปกับการปลูกป่า จัดหาแหล่งน้ำ ศึกษาวิธีการและระบบป้องกันไฟไหม้ป่าใน “ ระบบป่าเปียก ” ให้ราษฎรสร้างรายได้จากผลิตผลป่าไม้และปลูกพืชชนิดต่างๆ ควบคู่ไปด้วย และให้ราษฎรที่เข้ามาทำกินโดยมิชอบได้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อที่จะได้รับพระราชทานที่ดินทำกินต่อไป
1.

เพื่อสาธิตวิธีการปรับปรุงบำรุงดินด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ การใช้ปูนมาร์ล โดโลไมท์ เป็นต้น
2.
เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ สารป้องกันกำจัดแมลงจากพืชสมุนไพร เป็นต้น
3.
เพื่อเผยแพร่วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำในรูปแบบต่างๆ เช่น การสร้างคันดินเบนน้ำ คันดินกักเก็บน้ำ หรือบ่อดักตะกอนดิน และคันดินกั้นน้ำ เป็นต้น
4.
เพื่อเผยแพร่วิธีการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในรูปแบบต่างๆ เช่น การปลูกหญ้าแฝกในร่องน้ำ ขวางความลาดเทของพื้นที่ แบบวงกลม ครึ่งวงกลมรอบโคนต้นไม้ เป็นต้น
5.
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวพระราชดำริ ให้กับเกษตรกร ประชาชน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนนักวิชาการที่มีความสนใจ
1.

กิจกรรมงานจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ
2.
กิจกรรมงานสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด
3.
กิจกรรมงานสาธิตการทำและการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ
4.
กิจกรรมงานส่งเสริมและรณรงค์การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ที่ตำบลสามพระยาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีบริเวณศูนย์อำนวยการโครงการพัฒนากองบังคับการฝึกพิเศษกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนตั้งอยู่ระหว่างค่าพิกัด X = Y และระหว่างค่าพิกัด 596000-601000 = 1400000 1407000 ในระบบ WGS84 บนแผนที่ประเทศไทยลำดับชุดที่ L7018 ระวางแผนที่ 4934 II มีพื้นที่ทั้งหมดของโครงการ 22,627 ไร่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวันตำบลสามพระยาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีอันเป็นพื้นที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีประกาศพระบรมราชโองการให้เป็นที่หลวงเมื่อปี 2466 และปี 2467 เดิมพื้นที่แห่งนี้มีสภาพป่าไม้เป็นที่อุดมสมบูรณ์มีสัตว์ป่าประเภทเนื้อทรายอยู่เป็นจำนวนมากจึงได้ชื่อว่า "ห้วยทราย" ต่อมาราษฎรได้เข้ามาอาศัยทำกินบุกรุกแผ้วถางป่าและได้ประกอบอาชีพตามยถากรรมภายในเวลาไม่ถึง 40 ปีป่าไม้ได้ถูกทำลายโดยสิ้นเชิงทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลและมีปริมาณลดน้อยลงจนมีลักษณะเป็นพื้นที่อับฝนดินขาดการบำรุงรักษาจนเกิดความไม่สมดุลย์ทางธรรมชาติการพังทลายของผิวดินค่อนข้างสูงประกอบกับราษฎรส่วนใหญ่ปลูกสับปะรดซึ่งต้องใช้สารเคมีมากทำให้คุณภาพของดินตกต่ำลงไปอีกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสว่า "หากปล่อยทิ้งไว้จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด" เมื่อวันที่ 5 เมษายนไปได้พระราชทานพระราชดำริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริจักรพันธุ์องคมนตรีและนายสุเมธตันติเวชกุลเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้พัฒนาเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้เอนกประสงค์จัดให้ราษฎรที่ทำกินอยู่เดิมมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ได้ประโยชน์และไม่ทำลายป่าไม้อีกต่อไปมุ่งที่จะศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรควบคู่ไปกับการปลูกป่าจัดหาแหล่งน้ำศึกษาวิธีการและระบบป้องกันไฟไหม้ป่าใน "ระบบป่าเปียก" ให้ราษฎรสร้างรายได้จากผลิตผลป่าไม้และปลูกพืชชนิดต่าง ๆ ควบคู่ไปด้วยและให้ราษฎรที่เข้ามาทำกินโดยมิชอบได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อที่จะได้รับพระราชทานที่ดินทำกินต่อไป1เพื่อสาธิตวิธีการปรับปรุงบำรุงดินด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการใช้ปุ๋ยพืชสดปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำการใช้ปูนมาร์ลโดโลไมท์เป็นต้น2เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่นการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำสารป้องกันกำจัดแมลงจากพืชสมุนไพรเป็นต้น3เพื่อเผยแพร่วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำในรูปแบบต่าง ๆ เช่นการสร้างคันดินเบนน้ำคันดินกักเก็บน้ำหรือบ่อดักตะกอนดินและคันดินกั้นน้ำเป็นต้น4เพื่อเผยแพร่วิธีการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในรูปแบบต่าง ๆ เช่นการปลูกหญ้าแฝกในร่องน้ำขวางความลาดเทของพื้นที่แบบวงกลมครึ่งวงกลมรอบโคนต้นไม้เป็นต้น5เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวพระราชดำริให้กับเกษตรกรประชาชนนิสิตนักศึกษาตลอดจนนักวิชาการที่มีความสนใจ1กิจกรรมงานจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ2กิจกรรมงานสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด3กิจกรรมงานสาธิตการทำและการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ4กิจกรรมงานส่งเสริมและรณรงค์การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตั้งอยู่ที่ ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี บริเวณศูนย์อำนวยการโครงการพัฒนา กองบังคับการฝึกพิเศษ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ตั้งอยู่ระหว่างค่าพิกัด X = 596000 – 601000 และระหว่างค่าพิกัด Y = 1400000 - 1407000 ในระบบ WGS84 บนแผนที่ประเทศไทย ลำดับชุดที่ L7018 ระวางแผนที่ 4934 II มีพื้นที่ทั้งหมดของโครงการ 22,627 ไร่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตั้งอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน ตำบลสามพระยา อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี อันเป็นพื้นที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีประกาศพระบรมราชโองการให้เป็นที่หลวงเมื่อปี 2466 และ ปี 2467 เดิมพื้นที่แห่งนี้มี สภาพป่าไม้เป็นที่อุดมสมบูรณ์มีสัตว์ป่าประเภทเนื้อทรายอยู่เป็นจำนวนมาก จึงได้ชื่อว่า “ ห้วยทราย ” ต่อมาราษฎรได้เข้ามาอาศัยทำกินบุกรุกแผ้วถางป่า และได้ประกอบอาชีพตามยถากรรม ภายในเวลาไม่ถึง 40 ปี ป่าไม้ได้ถูกทำลายโดยสิ้นเชิง ทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล และมีปริมาณลดน้อยลงจนมีลักษณะเป็นพื้นที่อับฝน ดินขาดการบำรุงรักษาจนเกิดความไม่สมดุลย์ทางธรรมชาติ การพังทลายของผิวดินค่อนข้างสูง ประกอบกับราษฎรส่วนใหญ่ปลูกสับปะรดซึ่งต้องใช้สารเคมีมาก ทำให้คุณภาพของดินตกต่ำลงไปอีก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชดำรัสว่า “ หากปล่อยทิ้งไว้จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด ” เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2526 ได้พระราชทานพระราชดำริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ องคมนตรี และนายสุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้พัฒนาเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้เอนกประสงค์ จัดให้ราษฎรที่ทำกินอยู่เดิมมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาป่าไม้ ได้ประโยชน์และไม่ทำลายป่าไม้อีกต่อไป มุ่งที่จะศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรควบคู่ไปกับการปลูกป่า จัดหาแหล่งน้ำ ศึกษาวิธีการและระบบป้องกันไฟไหม้ป่าใน “ ระบบป่าเปียก ” ให้ราษฎรสร้างรายได้จากผลิตผลป่าไม้และปลูกพืชชนิดต่างๆ ควบคู่ไปด้วย และให้ราษฎรที่เข้ามาทำกินโดยมิชอบได้เข้าร่วมกิจกรรม เพื่อที่จะได้รับพระราชทานที่ดินทำกินต่อไป
1.

เพื่อสาธิตวิธีการปรับปรุงบำรุงดินด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ การใช้ปูนมาร์ล โดโลไมท์ เป็นต้น
2.
เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ สารป้องกันกำจัดแมลงจากพืชสมุนไพร เป็นต้น
3.
เพื่อเผยแพร่วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำในรูปแบบต่างๆ เช่น การสร้างคันดินเบนน้ำ คันดินกักเก็บน้ำ หรือบ่อดักตะกอนดิน และคันดินกั้นน้ำ เป็นต้น
4.
เพื่อเผยแพร่วิธีการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในรูปแบบต่างๆ เช่น การปลูกหญ้าแฝกในร่องน้ำ ขวางความลาดเทของพื้นที่ แบบวงกลม ครึ่งวงกลมรอบโคนต้นไม้ เป็นต้น
5.
เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวพระราชดำริ ให้กับเกษตรกร ประชาชน นิสิต นักศึกษา ตลอดจนนักวิชาการที่มีความสนใจ
1.

กิจกรรมงานจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ
2.
กิจกรรมงานสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด
3.
กิจกรรมงานสาธิตการทำและการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ
4.
กิจกรรมงานส่งเสริมและรณรงค์การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ตั้งอยู่ที่ตำบลสามพระยาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีบริเวณศูนย์อำนวยการโครงการพัฒนากองบังคับการฝึกพิเศษกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดนตั้งอยู่ระหว่างค่าพิกัด x = 596000 – 601000 และระหว่างค่าพิกัด Y = 1400000 - 1407000 ในระบบบนแผนที่ประเทศไทยลำดับชุดที่ l7018 ระวางแผนที่ 4934 II มีพื้นที่ทั้งหมดของโครงการ 22627 ไร่
ศูนย์ศึกษาการพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดำริตั้งอยู่ในเขตพระราชนิเวศน์มฤคทายวันตำบลสามพระยาอำเภอชะอำจังหวัดเพชรบุรีอันเป็นพื้นที่ซึ่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวการเรียนรู้และ . ความเป็นมาเดิมพื้นที่แห่งนี้มีสภาพป่าไม้เป็นที่อุดมสมบูรณ์มีสัตว์ป่าประเภทเนื้อทรายอยู่เป็นจำนวนมากจึงได้ชื่อว่า " ห้วยทราย " ต่อมาราษฎรได้เข้ามาอาศัยทำกินบุกรุกแผ้วถางป่าและได้ประกอบอาชีพตามยถากรรม40 . ป่าไม้ได้ถูกทำลายโดยสิ้นเชิงทำให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาลและมีปริมาณลดน้อยลงจนมีลักษณะเป็นพื้นที่อับฝนดินขาดการบำรุงรักษาจนเกิดความไม่สมดุลย์ทางธรรมชาติการพังทลายของผิวดินค่อนข้างสูงทำให้คุณภาพของดินตกต่ำลงไปอีกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสว่า " หากปล่อยทิ้งไว้จะกลายเป็นทะเลทรายในที่สุด " เมื่อวันที่ 5 เมษายน 2526 ได้พระราชทานพระราชดำริกับหม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริองคมนตรีและนายสุเมธตันติเวชกุลเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริให้พัฒนาเป็นศูนย์ศึกษาการพัฒนาด้านป่าไม้เอนกประสงค์ได้ประโยชน์และไม่ทำลายป่าไม้อีกต่อไปมุ่งที่จะศึกษารูปแบบการพัฒนาเกษตรควบคู่ไปกับการปลูกป่าจัดหาแหล่งน้ำศึกษาวิธีการและระบบป้องกันไฟไหม้ป่าใน " ระบบป่าเปียก "ควบคู่ไปด้วยและให้ราษฎรที่เข้ามาทำกินโดยมิชอบได้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อที่จะได้รับพระราชทานที่ดินทำกินต่อไป
1 .

เพื่อสาธิตวิธีการปรับปรุงบำรุงดินด้วยวิธีการต่างๆเช่นการใช้ปุ๋ยพืชสดปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำการใช้ปูนมาร์ลโดโลไมท์เป็นต้น

2เพื่อศึกษาแนวทางในการเพิ่มผลผลิตพืชด้วยวิธีการต่างๆเช่นการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำสารป้องกันกำจัดแมลงจากพืชสมุนไพรเป็นต้น

3เพื่อเผยแพร่วิธีการอนุรักษ์ดินและน้ำในรูปแบบต่างๆเช่นการสร้างคันดินเบนน้ำคันดินกักเก็บน้ำหรือบ่อดักตะกอนดินและคันดินกั้นน้ำเป็นต้น

4 .เพื่อเผยแพร่วิธีการใช้ประโยชน์หญ้าแฝกในรูปแบบต่างๆเช่นการปลูกหญ้าแฝกในร่องน้ำขวางความลาดเทของพื้นที่แบบวงกลมครึ่งวงกลมรอบโคนต้นไม้เป็นต้น

5เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการพัฒนาที่ดินตามแนวพระราชดำริให้กับเกษตรกรประชาชนนิสิตนักศึกษาตลอดจนนักวิชาการที่มีความสนใจ
1

กิจกรรมงานจัดทำระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ
2
กิจกรรมงานสาธิตการใช้ปุ๋ยพืชสด

3กิจกรรมงานสาธิตการทำและการใช้ปุ๋ยหมักและปุ๋ยอินทรีย์น้ำ

กิจกรรมงานส่งเสริมและรณรงค์การใช้ประโยชน์หญ้าแฝก 4
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: