นิยามอาชีพ

นิยามอาชีพ "นักบิน"ผู้ปฏิบัติงานอาช

นิยามอาชีพ "นักบิน"

ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ ได้แก่ผู้ขับเครื่องบิน ผู้ควบคุมการบิน ในระหว่างทำการบินรวมถึงการขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร ไปรษณีย์ภัณฑ์หรือสินค้า การขับเครื่องบินเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ เช่นทดสอบ ส่งมอบ ฉีดยาฆ่าแมลงหรือยาป้องกันแมลง สำรวจทางอากาศ ถ่ายภาพทางอากาศ และสอนนักบินฝึกหัดการควบคุมเส้นทางบินของการบิน การดูแลเครื่องบินระหว่างทำการบิน และให้คำแนะนำ นักบินอื่นๆ เกี่ยวกับการบินและเส้นทางการบิน

ลักษณะของงานที่ทำ

1. ขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสาร ไปรษณีย์ภัณฑ์ หรือสินค้า

2. ควบคุมอากาศยานให้อยู่ในเส้นทาง ซึ่งทำการบินประจำ หรือในเที่ยวบินเช่าเหมา

3. สังเกตเครื่องวัดมิเตอร์ และเครื่องวัดประกอบการบินอื่นๆ ที่ใช้ควบคุมอากาศยาน

4. ตรวจความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์ ใช้เครื่องช่วยในการเดินอากาศสำหรับควบคุมเส้นทางบินของอากาศยาน

5. อาจเป็นผู้ควบคุมอากาศยาน และรับผิดชอบในลูกเรือทั้งหมด หรือเป็นนักบินผู้ช่วย และอาจทำการบินภายใต้การควบคุมของผู้ควบคุมอากาศยาน

คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ

เนื่องจากนักบินเป็นผู้ขับเครื่องบินให้ไปสู่จุดหมายปลายทางของผู้โดยสารหรือสินค้าที่อยู่ในเครื่องบินซึ่งจะไปถึงที่หมายปลายทางได้หรือไม่นั้น นักบินจะต้องเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ฉะนั้น ผู้ประกอบอาชีพด้านนี้ จึงควรมีคุณสมบัติ ดังนี้

1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ดี ควรมีความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ดีพอสมควร เพื่อใช้ในการศึกษา และใช้ในการปฏิบัติงาน

3. รูปร่าง บุคลิกดี มีความสูงไม่น้อยกว่า 165 ซ.ม. มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีปฏิภาณไหวพริบดี มีสำนึกในความปลอดภัย และมีความสามารถเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม

4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผู้อื่นสูง มีความกล้าหาญ และมีความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว

5. มีความมั่นใจในตนเอง ละเอียดรอบคอบ มีความจำดี ช่างสังเกต

6. สายตาสั้นไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด และต้องไม่ตาบอดสี

7. ในการสอบสัมภาษณ์มีทั้งการสอบภาษาไทย และสอบเชาว์ปัญญา ( Aptitude Test) และอาจมีการสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดยผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ผู้สมัครควรมีความรู้ภาษาอังกฤษดี และมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ด้วย

8. ในการขับเครื่องบิน ต้องได้รับใบอนุญาตการบิน ( Pilot License) รวมทั้งต้องผ่านการตรวจ ร่างกาย และทดสอบทางจิตเวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบิน

ผู้ประกอบอาชีพนี้นอกจากจะมีคุณสมบัติ ดังที่กล่าวมาแล้ว ควรเตรียมตัวเพื่อเข้าเรียน หลังจากผ่านการสอบคัดเลือกตำแหน่งตามเงื่อนไข คือจะถูกส่งเข้าศึกษาต่อหลักสูตรการบิน ในโรงเรียนการบินต่างๆ เช่น วิทยาลัยการบินนานาชาติ มหาวิทยาลัยนครพนม เมื่อเริ่มต้นเรียนการบิน จะฝึกบินกันที่สนามบินนครพนม เนื่องจากเป็นสนามบินที่มีการจราจรทางอากาศไม่คับคั่ง สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เหมาะสำหรับการฝึกบิน โดยมีหลักสูตรดังนี้

1.หลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรี - เครื่องบิน (Commercial Pilot Licence - Aeroplane)

ใช้เวลาในการศึกษาประมาณ 58 สัปดาห์ ทำการฝึกอบรมให้ศิษย์การบินมีความรู้ความสามารถในการบินกับเครื่องบินจนเข้ามาตรฐานได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์ตรี ตามที่กรมการบินพลเรือนกำหนดไว้ ศิษย์การบินที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้ จะได้รับใบประกาศนียบัตรนักบินพาณิชย์ตรี จากนั้นจึงทำการสอบขอใบอนุญาต " นักบินพาณิชย์ตรี" พร้อมวุฒิการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน และเครื่องบินหลายเครื่องยนต์จากกรมกรมการบินพลเรือน

2.หลักสูตรวิชานักบินส่วนบุคคล ( Private Pilot Licence)

3. หลักสูตรเพิ่มศักย์การบินต่างๆ ได้แก่

3.1 หลักสูตรการบินหลายเครื่องยนต์(Multi Engine Rating)

3.2 หลักสูตรการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (Instrument Rating)

3.3 หลักสูตรครูการบิน (Flight Instructor Rating)

3.4 Multi Crew Cooperation (MCC) and Jet Orientation Training (JOT)

เนื่องจากวิทยาลัยการบินนานาชาติ เป็นโรงเรียนการบินของรัฐบาล 100 % ค่าใช้จ่ายในการเรียนจึงต่ำกว่าโรงเรียนการบินอื่นๆ อีกทั้งยังมีบริการที่พัก อาหาร บริการรถรับ - ส่ง และเอกสารตำราเรียนที่เป็นลิขสิทธิ์แท้ ไว้สำหรับบริการศิษย์การบินของวิทยาลัยการบินนานาชาติทุกคน

โอกาสในการทำงาน

อาชีพนักบินสามารถรับราชการเป็นนักบินของหน่วยราชการต่างๆ เช่น กองบินสำนักงานตำรวจ แห่งชาติ สำนักฝนหลวง และการบินเกษตร หรือสายการบินเอกชนต่างๆ เช่น บริษัทการบินไทย บริษัทบางกอกแอร์เวย์ ซึ่งยังมีความต้องการพนักงานในตำแหน่งนี้ยังมีมากแต่การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม รวมทั้งการสอน และอบรมในการบินสามารถรับได้ครั้งไม่มากจึงจัดว่าเป็นอาชีพที่ขาดแคลน

สถาบันที่จะฝึกนักบินในประเทศไทยนั้นมีจำนวนน้อยมาก และส่วนใหญ่จะฝึกให้หน่วยงานราชการ เพื่อใช้ในหน่วยงานของตนเอง แต่ถ้าหน่วยงานใดองค์การใดที่ต้องการนักบิน และไม่สามารถที่จะฝึกอบรมด้วยตนเองได้ก็จะส่งบุคคลในหน่วยงานของตนนั้นมาทำการฝึกอบรมการบินที่โรงเรียนการบินต่างๆในประเทศไทย ฉะนั้นผู้ที่จบการศึกษาแล้ว ส่วนใหญ่จึงกลับเข้าทำงานในหน่วยงานเดิมของตนที่ส่งมาฝึกอบรม แต่ถ้าเป็นศิษย์การบินที่เรียนโดยทุนส่วนตัว เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็จะทำงานเป็นนักบินในบริษัทสายการบินต่างๆ ซึ่งจะได้รับเงินเดือนสูงมากผู้ที่ประกอบอาชีพนักบินมักจะเป็นชาย ในปัจจุบันประเทศไทยมีนักบินอาชีพที่เป็น ผู้หญิงทำงานในบริษัท บางกอกแอร์เวย์ แอร์เอเชียและบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย แต่สำหรับบริษัทการบินไทย ยังไม่มีนักบินอาชีพที่เป็นผู้หญิง

ผู้ที่ประกอบอาชีพนักบินสามารถเข้าสมัครงานในภาคราชการหรือภาคเอกชนที่ประกาศรับสมัครโดยต้องมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ และเมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วจะต้องเข้ารับการอบรมการบินตามโรงเรียนการบินในประเทศไทย ตามที่หน่วยงานของตนจะกำหนด โดยเมื่อจบการอบรมก็จะได้รับบรรจุเข้าเป็นนักบินประจำหน่วยงานนั้น

ยกเว้นนักบินของกองทัพอากาศ ซึ่งจะต้องเรียนโรงเรียนนายเรืออากาศและสอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนการบินของกองทัพอากาศซึ่งจะมีหลักสูตรการบินที่เกี่ยวกับการทหารไม่ใช่การบินเชิงพาณิชย์สำหรับนักบินทั่วไป เมื่อจบหลักสูตรจึงจะได้บรรจุเป็นทหารสัญญาบัตรเหล่านักบิน และได้รับการบรรจุเข้าประจำฝูงบินต่างๆ หรือบรรจุเข้ารับราชการตามกรมกองต่างๆ

โอ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
นิยามอาชีพ "นักบิน"ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ได้แก่ผู้ขับเครื่องบินผู้ควบคุมการบินในระหว่างทำการบินรวมถึงการขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารไปรษณีย์ภัณฑ์หรือสินค้าการขับเครื่องบินเพื่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ เช่นทดสอบส่งมอบฉีดยาฆ่าแมลงหรือยาป้องกันแมลงสำรวจทางอากาศถ่ายภาพทางอากาศและสอนนักบินฝึกหัดการควบคุมเส้นทางบินของการบินการดูแลเครื่องบินระหว่างทำการบินและให้คำแนะนำนักบินอื่น ๆ เกี่ยวกับการบินและเส้นทางการบินลักษณะของงานที่ทำ1. ขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารไปรษณีย์ภัณฑ์หรือสินค้า2. ควบคุมอากาศยานให้อยู่ในเส้นทางซึ่งทำการบินประจำหรือในเที่ยวบินเช่าเหมา3. สังเกตเครื่องวัดมิเตอร์และเครื่องวัดประกอบการบินอื่น ๆ ที่ใช้ควบคุมอากาศยาน4. ตรวจความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์ใช้เครื่องช่วยในการเดินอากาศสำหรับควบคุมเส้นทางบินของอากาศยาน5. อาจเป็นผู้ควบคุมอากาศยานและรับผิดชอบในลูกเรือทั้งหมดหรือเป็นนักบินผู้ช่วยและอาจทำการบินภายใต้การควบคุมของผู้ควบคุมอากาศยานคุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพเนื่องจากนักบินเป็นผู้ขับเครื่องบินให้ไปสู่จุดหมายปลายทางของผู้โดยสารหรือสินค้าที่อยู่ในเครื่องบินซึ่งจะไปถึงที่หมายปลายทางได้หรือไม่นั้น นักบินจะต้องเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบทั้งชีวิตและทรัพย์สิน ฉะนั้น ผู้ประกอบอาชีพด้านนี้ จึงควรมีคุณสมบัติ ดังนี้1. สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี 2. ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ดี ควรมีความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ดีพอสมควร เพื่อใช้ในการศึกษา และใช้ในการปฏิบัติงาน3. รูปร่าง บุคลิกดี มีความสูงไม่น้อยกว่า 165 ซ.ม. มีมนุษยสัมพันธ์ดี มีปฏิภาณไหวพริบดี มีสำนึกในความปลอดภัย และมีความสามารถเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม4. มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และผู้อื่นสูง มีความกล้าหาญ และมีความสามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็ว5. มีความมั่นใจในตนเอง ละเอียดรอบคอบ มีความจำดี ช่างสังเกต6. สายตาสั้นไม่เกินมาตรฐานที่กำหนด และต้องไม่ตาบอดสี7. ในการสอบสัมภาษณ์มีทั้งการสอบภาษาไทย และสอบเชาว์ปัญญา ( Aptitude Test) และอาจมีการสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดยผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ ผู้สมัครควรมีความรู้ภาษาอังกฤษดี และมีความรู้เรื่องคอมพิวเตอร์ด้วย8. ในการขับเครื่องบิน ต้องได้รับใบอนุญาตการบิน ( Pilot License) รวมทั้งต้องผ่านการตรวจ ร่างกาย และทดสอบทางจิตเวชจากสถาบันเวชศาสตร์การบินผู้ประกอบอาชีพนี้นอกจากจะมีคุณสมบัติ ดังที่กล่าวมาแล้ว ควรเตรียมตัวเพื่อเข้าเรียน หลังจากผ่านการสอบคัดเลือกตำแหน่งตามเงื่อนไข คือจะถูกส่งเข้าศึกษาต่อหลักสูตรการบิน ในโรงเรียนการบินต่างๆ เช่น วิทยาลัยการบินนานาชาติ มหาวิทยาลัยนครพนม เมื่อเริ่มต้นเรียนการบิน จะฝึกบินกันที่สนามบินนครพนม เนื่องจากเป็นสนามบินที่มีการจราจรทางอากาศไม่คับคั่ง สภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เหมาะสำหรับการฝึกบิน โดยมีหลักสูตรดังนี้
1.หลักสูตรนักบินพาณิชย์ตรี - เครื่องบิน (Commercial Pilot Licence - Aeroplane)

ใช้เวลาในการศึกษาประมาณ 58 สัปดาห์ ทำการฝึกอบรมให้ศิษย์การบินมีความรู้ความสามารถในการบินกับเครื่องบินจนเข้ามาตรฐานได้รับใบอนุญาตนักบินพาณิชย์ตรี ตามที่กรมการบินพลเรือนกำหนดไว้ ศิษย์การบินที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้ จะได้รับใบประกาศนียบัตรนักบินพาณิชย์ตรี จากนั้นจึงทำการสอบขอใบอนุญาต " นักบินพาณิชย์ตรี" พร้อมวุฒิการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน และเครื่องบินหลายเครื่องยนต์จากกรมกรมการบินพลเรือน

2.หลักสูตรวิชานักบินส่วนบุคคล ( Private Pilot Licence)

3. หลักสูตรเพิ่มศักย์การบินต่างๆ ได้แก่

3.1 หลักสูตรการบินหลายเครื่องยนต์(Multi Engine Rating)

3.2 หลักสูตรการบินด้วยเครื่องวัดประกอบการบิน (Instrument Rating)

3.3 หลักสูตรครูการบิน (Flight Instructor Rating)

3.4 Multi Crew Cooperation (MCC) and Jet Orientation Training (JOT)

เนื่องจากวิทยาลัยการบินนานาชาติ เป็นโรงเรียนการบินของรัฐบาล 100 % ค่าใช้จ่ายในการเรียนจึงต่ำกว่าโรงเรียนการบินอื่นๆ อีกทั้งยังมีบริการที่พัก อาหาร บริการรถรับ - ส่ง และเอกสารตำราเรียนที่เป็นลิขสิทธิ์แท้ ไว้สำหรับบริการศิษย์การบินของวิทยาลัยการบินนานาชาติทุกคน

โอกาสในการทำงาน

อาชีพนักบินสามารถรับราชการเป็นนักบินของหน่วยราชการต่างๆ เช่น กองบินสำนักงานตำรวจ แห่งชาติ สำนักฝนหลวง และการบินเกษตร หรือสายการบินเอกชนต่างๆ เช่น บริษัทการบินไทย บริษัทบางกอกแอร์เวย์ ซึ่งยังมีความต้องการพนักงานในตำแหน่งนี้ยังมีมากแต่การคัดเลือกบุคลากรที่เหมาะสม รวมทั้งการสอน และอบรมในการบินสามารถรับได้ครั้งไม่มากจึงจัดว่าเป็นอาชีพที่ขาดแคลน

สถาบันที่จะฝึกนักบินในประเทศไทยนั้นมีจำนวนน้อยมาก และส่วนใหญ่จะฝึกให้หน่วยงานราชการ เพื่อใช้ในหน่วยงานของตนเอง แต่ถ้าหน่วยงานใดองค์การใดที่ต้องการนักบิน และไม่สามารถที่จะฝึกอบรมด้วยตนเองได้ก็จะส่งบุคคลในหน่วยงานของตนนั้นมาทำการฝึกอบรมการบินที่โรงเรียนการบินต่างๆในประเทศไทย ฉะนั้นผู้ที่จบการศึกษาแล้ว ส่วนใหญ่จึงกลับเข้าทำงานในหน่วยงานเดิมของตนที่ส่งมาฝึกอบรม แต่ถ้าเป็นศิษย์การบินที่เรียนโดยทุนส่วนตัว เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วก็จะทำงานเป็นนักบินในบริษัทสายการบินต่างๆ ซึ่งจะได้รับเงินเดือนสูงมากผู้ที่ประกอบอาชีพนักบินมักจะเป็นชาย ในปัจจุบันประเทศไทยมีนักบินอาชีพที่เป็น ผู้หญิงทำงานในบริษัท บางกอกแอร์เวย์ แอร์เอเชียและบริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย แต่สำหรับบริษัทการบินไทย ยังไม่มีนักบินอาชีพที่เป็นผู้หญิง

ผู้ที่ประกอบอาชีพนักบินสามารถเข้าสมัครงานในภาคราชการหรือภาคเอกชนที่ประกาศรับสมัครโดยต้องมีคุณสมบัติตามที่กำหนดไว้ และเมื่อผ่านการคัดเลือกแล้วจะต้องเข้ารับการอบรมการบินตามโรงเรียนการบินในประเทศไทย ตามที่หน่วยงานของตนจะกำหนด โดยเมื่อจบการอบรมก็จะได้รับบรรจุเข้าเป็นนักบินประจำหน่วยงานนั้น

ยกเว้นนักบินของกองทัพอากาศ ซึ่งจะต้องเรียนโรงเรียนนายเรืออากาศและสอบคัดเลือกเข้าโรงเรียนการบินของกองทัพอากาศซึ่งจะมีหลักสูตรการบินที่เกี่ยวกับการทหารไม่ใช่การบินเชิงพาณิชย์สำหรับนักบินทั่วไป เมื่อจบหลักสูตรจึงจะได้บรรจุเป็นทหารสัญญาบัตรเหล่านักบิน และได้รับการบรรจุเข้าประจำฝูงบินต่างๆ หรือบรรจุเข้ารับราชการตามกรมกองต่างๆ

โอ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
นิยามอาชีพ " นักบิน "

ผู้ปฏิบัติงานอาชีพนี้ได้แก่ผู้ขับเครื่องบินผู้ควบคุมการบินในระหว่างทำการบินรวมถึงการขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารไปรษณีย์ภัณฑ์หรือสินค้าการขับเครื่องบินเพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆเช่นทดสอบฉีดยาฆ่าแมลงหรือยาป้องกันแมลงสำรวจทางอากาศถ่ายภาพทางอากาศและสอนนักบินฝึกหัดการควบคุมเส้นทางบินของการบินการดูแลเครื่องบินระหว่างทำการบินและให้คำแนะนำนักบินอื่นๆเกี่ยวกับการบินและเส้นทางการบิน

ลักษณะของงานที่ทำ

1 ขับเครื่องบินที่ใช้ในการขนส่งผู้โดยสารไปรษณีย์ภัณฑ์หรือสินค้า

2 ควบคุมอากาศยานให้อยู่ในเส้นทางซึ่งทำการบินประจำหรือในเที่ยวบินเช่าเหมา

3สังเกตเครื่องวัดมิเตอร์และเครื่องวัดประกอบการบินอื่นๆที่ใช้ควบคุมอากาศยาน

4 . ตรวจความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเครื่องยนต์ใช้เครื่องช่วยในการเดินอากาศสำหรับควบคุมเส้นทางบินของอากาศยาน

5อาจเป็นผู้ควบคุมอากาศยานและรับผิดชอบในลูกเรือทั้งหมดหรือเป็นนักบินผู้ช่วยและอาจทำการบินภายใต้การควบคุมของผู้ควบคุมอากาศยาน



คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพเนื่องจากนักบินเป็นผู้ขับเครื่องบินให้ไปสู่จุดหมายปลายทางของผู้โดยสารหรือสินค้าที่อยู่ในเครื่องบินซึ่งจะไปถึงที่หมายปลายทางได้หรือไม่นั้นนักบินจะต้องเป็นผู้มีหน้าที่รับผิดชอบทั้งชีวิตและทรัพย์สินผู้ประกอบอาชีพด้านนี้จึงควรมีคุณสมบัติดังนี้

1 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี

2 ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้ดีควรมีความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ดีพอสมควรเพื่อใช้ในการศึกษาและใช้ในการปฏิบัติงาน

3 รูปร่างบุคลิกดีมีความสูงไม่น้อยกว่า 165 ซ .แอง . มีมนุษยสัมพันธ์ดีมีปฏิภาณไหวพริบดีมีสำนึกในความปลอดภัยและมีความสามารถเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม

4 .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: