ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีน, High-density Polyethylene, Polyethylene high-d การแปล - ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีน, High-density Polyethylene, Polyethylene high-d ไทย วิธีการพูด

ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีน, High-densit

ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีน, High-density Polyethylene, Polyethylene high-density, PEHD


สูตรโครงสร้างทางเคมี :
พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่าง ๆ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาดตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุลต่ำ (ลักษณะเป็นน้ำมัน หรือไขข้น) ไปจนถึงขนาดโมเลกุลสูง (ลักษณะเป็นของแข็งที่ยืดหยุ่นได้)
คุณสมบัติทางกายภาพ :

HDPE มีโครงสร้างทางเคมีที่เป็นกิ่งสาขา (branching) น้อย จึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ค่อนข้างสูง มีความแข็งแรง เมื่อความหนาแน่นสูงขึ้นจะทำให้มีความแข็งและความเหนียวเพิ่มขึ้น แต่เมื่อความหนาแน่นลดลง จะทำให้ผิวแตกรานได้ง่าย ทนความร้อนได้ไม่มากนัก แต่ทนสารเคมีได้ดี โดยทนความร้อน (ทนอุณหภูมิสูงถึง 110°C และทนอุณหภูมิสูงถึง 120°C ได้ในช่วงสั้น ๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้ำ (Autoclave) เท่าพลาสติกชนิด PP (Polypropylene, สัญลักษณ์เลข 5) และทนต่อสารเคมีมากกว่า LDPE (Low-density polyethylene, สัญลักษณ์เลข 4) ทนต่อสภาพอากาศได้ดีพอสมควร แต่อากาศสามารถซึมผ่านได้
HDPE มีสีขาวขุ่น โปร่งแสง มีความลื่นมันในตัว มีความเหนียวและยืดหยุ่น ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส มีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำจึงลอยน้ำได้ สามารถผสมให้มีสีต่าง ๆ ได้
ความเป็นมา :

พอลิเอทิลีน (Polyethylene หรือ Polythene) ถูกค้นพบในปี 1933 โดย Reginald Gibson and Eric Fawcett แห่งบริษัท Imperial Chemical Industries (ICI) ในประเทศอังกฤษ วัสดุประเภทนี้มี 2 รูปแบบ คือ LDPE และ HDPE โดย LDPE ใช้ผลิตแผ่นฟิล์มและวัสดุสำหรับบรรจุหีบห่อ ส่วน HDPE มีความแข็งแรงกว่า ใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ท่อน้ำ และอุปกรณ์ยานยนต์
HDPE เป็นวัสดุประเภท Polyethylene Thermoplastic (Thermoplastic คือพลาสติกที่สามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้) ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม จัดเป็นพลาสติกที่ได้รับสัญลักษณ์เลข 2 ซึ่งหมายถึง Resin Identification Code 2 เพื่อความสะดวกสำหรับการจำแนกชนิดของพลาสติกในการนำกลับไปเวียนทำใหม่ (recycled)
ในปี 1945 Earl Tupper แห่งบริษัท DuPont® สังเกตว่าพอลิเอทิลีนเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มีความเหนียว ทนทาน สามารถนำมาหล่อในแบบพิมพ์ให้มีขนาด รูปร่าง และผสมสีให้มีสีต่าง ๆ ได้ จึงเริ่มด้วยการผลิตแก้วน้ำพลาสติก และชามอ่าง ซึ่งได้รับความนิยมเนื่องจากมีน้ำหนักเบา สีสันน่าใช้ และต่อมาได้ผลิตภาชนะที่มีฝาปิดได้ด้วย ซึ่งเป็นที่มาของภาชนะบรรจุอาหารที่ได้รับความนิยมจากแม่บ้านในสมัยนั้น ในชื่อของทัปเปอร์แวร์ (Tupperware®) นั่นเอง
การใช้งาน :

HDPE ทนทานต่อสารเคมีและตัวทำละลายหลายชนิด มีความยืดหยุ่นต่อแรงกระทบกระแทก ไม่แตกร้าวง่าย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ โดยเฉพาะการผลิตภาชนะบรรจุที่เตรียมจากการเป่าจากแม่พิมพ์ (blow molding) เนื่องจากหดตัวในแม่พิมพ์ได้ดีมาก ไม่ติดแม่พิมพ์ ทำให้ถอดออกจากแม่พิมพ์ได้ง่าย ภาชนะที่ผลิตจาก HDPE เช่น ขวดบรรจุนมสด ขวดบรรจุน้ำยาซักผ้า ถังบรรจุน้ำมันในยานยนต์ ท่อประปา โต๊ะ-เก้าอี้พับได้ ถุงพลาสติก ฯลฯ นอกจากนี้ HDPE ยังใช้ในการบุพื้นบ่อฝังกลบขยะเพื่อป้องกันการรั่วซึมของสารเคมีลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำธรรมชาติ

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก HDPE

- ขวดน้ำดื่ม ขวดบรรจุนม ถาดทำน้ำแข็ง
- ภาชนะ กล่อง กระปุกบรรจุอาหาร กระปุกยาและวิตามิน
- ขวดใส่สารเคมี ขวดสบู่เหลว (ขวดปั๊ม) ขวดน้ำยาซักผ้า กระป๋องแป้ง
- ลังและกล่องบรรจุสินค้า ถุงใส่ของ
- เครื่องเล่นเด็ก
- ฉนวนไฟฟ้า
- โต๊ะ เก้าอี้
ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีน, High-density Polyethylene, Polyethylene high-density, PEHD


สูตรโครงสร้างทางเคมี :
พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่าง ๆ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาดตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุลต่ำ (ลักษณะเป็นน้ำมัน หรือไขข้น) ไปจนถึงขนาดโมเลกุลสูง (ลักษณะเป็นของแข็งที่ยืดหยุ่นได้)
คุณสมบัติทางกายภาพ :

HDPE มีโครงสร้างทางเคมีที่เป็นกิ่งสาขา (branching) น้อย จึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ค่อนข้างสูง มีความแข็งแรง เมื่อความหนาแน่นสูงขึ้นจะทำให้มีความแข็งและความเหนียวเพิ่มขึ้น แต่เมื่อความหนาแน่นลดลง จะทำให้ผิวแตกรานได้ง่าย ทนความร้อนได้ไม่มากนัก แต่ทนสารเคมีได้ดี โดยทนความร้อน (ทนอุณหภูมิสูงถึง 110°C และทนอุณหภูมิสูงถึง 120°C ได้ในช่วงสั้น ๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้ำ (Autoclave) เท่าพลาสติกชนิด PP (Polypropylene, สัญลักษณ์เลข 5) และทนต่อสารเคมีมากกว่า LDPE (Low-density polyethylene, สัญลักษณ์เลข 4) ทนต่อสภาพอากาศได้ดีพอสมควร แต่อากาศสามารถซึมผ่านได้
HDPE มีสีขาวขุ่น โปร่งแสง มีความลื่นมันในตัว มีความเหนียวและยืดหยุ่น ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส มีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำจึงลอยน้ำได้ สามารถผสมให้มีสีต่าง ๆ ได้
ความเป็นมา :

พอลิเอทิลีน (Polyethylene หรือ Polythene) ถูกค้นพบในปี 1933 โดย Reginald Gibson and Eric Fawcett แห่งบริษัท Imperial Chemical Industries (ICI) ในประเทศอังกฤษ วัสดุประเภทนี้มี 2 รูปแบบ คือ LDPE และ HDPE โดย LDPE ใช้ผลิตแผ่นฟิล์มและวัสดุสำหรับบรรจุหีบห่อ ส่วน HDPE มีความแข็งแรงกว่า ใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ ท่อน้ำ และอุปกรณ์ยานยนต์
HDPE เป็นวัสดุประเภท Polyethylene Thermoplastic (Thermoplastic คือพลาสติกที่สามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้) ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม จัดเป็นพลาสติกที่ได้รับสัญลักษณ์เลข 2 ซึ่งหมายถึง Resin Identification Code 2 เพื่อความสะดวกสำหรับการจำแนกชนิดของพลาสติกในการนำกลับไปเวียนทำใหม่ (recycled)
ในปี 1945 Earl Tupper แห่งบริษัท DuPont® สังเกตว่าพอลิเอทิลีนเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มีความเหนียว ทนทาน สามารถนำมาหล่อในแบบพิมพ์ให้มีขนาด รูปร่าง และผสมสีให้มีสีต่าง ๆ ได้ จึงเริ่มด้วยการผลิตแก้วน้ำพลาสติก และชามอ่าง ซึ่งได้รับความนิยมเนื่องจากมีน้ำหนักเบา สีสันน่าใช้ และต่อมาได้ผลิตภาชนะที่มีฝาปิดได้ด้วย ซึ่งเป็นที่มาของภาชนะบรรจุอาหารที่ได้รับความนิยมจากแม่บ้านในสมัยนั้น ในชื่อของทัปเปอร์แวร์ (Tupperware®) นั่นเอง
การใช้งาน :

HDPE ทนทานต่อสารเคมีและตัวทำละลายหลายชนิด มีความยืดหยุ่นต่อแรงกระทบกระแทก ไม่แตกร้าวง่าย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ โดยเฉพาะการผลิตภาชนะบรรจุที่เตรียมจากการเป่าจากแม่พิมพ์ (blow molding) เนื่องจากหดตัวในแม่พิมพ์ได้ดีมาก ไม่ติดแม่พิมพ์ ทำให้ถอดออกจากแม่พิมพ์ได้ง่าย ภาชนะที่ผลิตจาก HDPE เช่น ขวดบรรจุนมสด ขวดบรรจุน้ำยาซักผ้า ถังบรรจุน้ำมันในยานยนต์ ท่อประปา โต๊ะ-เก้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อพ้อง: พอลิเอทิลีน High-density Polyethylene, Polyethylene high-density, PEHDสูตรโครงสร้างทางเคมี: พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่างๆ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาดตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุลต่ำไปจนถึงขนาดโมเลกุลสูง (ลักษณะเป็นน้ำมันหรือไขข้น) (ลักษณะเป็นของแข็งที่ยืดหยุ่นได้)คุณสมบัติทางกายภาพ: HDPE มีโครงสร้างทางเคมีที่เป็นกิ่งสาขา (สาขา) น้อยจึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ค่อนข้างสูงมีความแข็งแรงเมื่อความหนาแน่นสูงขึ้นจะทำให้มีความแข็งและความเหนียวเพิ่มขึ้นแต่เมื่อความหนาแน่นลดลงจะทำให้ผิวแตกรานได้ง่ายทนความร้อนได้ไม่มากนักแต่ทนสารเคมีได้ดีโดยทนความร้อน (ทนอุณหภูมิสูงถึง 110° C และทนอุณหภูมิสูงถึง 120° C ได้ในช่วงสั้นๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้ำ (ด้วย) เท่าพลาสติกชนิด PP (โพรพิลีน สัญลักษณ์เลข 5) และทนต่อสารเคมีมากกว่า LDPE (เอทิลีนความหนาแน่นต่ำ สัญลักษณ์เลข 4) ทนต่อสภาพอากาศได้ดีพอสมควรแต่อากาศสามารถซึมผ่านได้ HDPE มีสีขาวขุ่นโปร่งแสงมีความลื่นมันในตัวมีความเหนียวและยืดหยุ่นไม่มีกลิ่นไม่มีรสมีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำจึงลอยน้ำได้สามารถผสมให้มีสีต่างๆ ได้ความเป็นมา: พอลิเอทิลีน (เอทิลีนหรือ Polythene) ถูกค้นพบในปี 1933 โดย Reginald กิบสันและ Eric Fawcett แห่งบริษัทอุตสาหกรรมเคมีอิมพีเรียล (เหมา) ในประเทศอังกฤษวัสดุประเภทนี้มี 2 รูปแบบคือ LDPE และ HDPE โดย LDPE ใช้ผลิตแผ่นฟิล์มและวัสดุสำหรับบรรจุหีบห่อส่วน HDPE มีความแข็งแรงกว่าใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ท่อน้ำและอุปกรณ์ยานยนต์ HDPE เป็นวัสดุประเภทพลาสติกเทอร์โมพลาสติก (เทอร์โมพลาสติกคือพลาสติกที่สามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้) ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมจัดเป็นพลาสติกที่ได้รับสัญลักษณ์เลข 2 ซึ่งหมายถึง 2 รหัสรหัสยางเพื่อความสะดวกสำหรับการจำแนกชนิดของพลาสติกในการนำกลับไปเวียนทำใหม่ (รีไซเคิล) ในปี 1945 เอิร์ล Tupper แห่งบริษัทดูปองท์®สังเกตว่าพอลิเอทิลีนเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มีความเหนียวทนทานสามารถนำมาหล่อในแบบพิมพ์ให้มีขนาดรูปร่างและผสมสีให้มีสีต่างๆ ได้จึงเริ่มด้วยการผลิตแก้วน้ำพลาสติกและชามอ่างซึ่งได้รับความนิยมเนื่องจากมีน้ำหนักเบาสีสันน่าใช้และต่อมาได้ผลิตภาชนะที่มีฝาปิดได้ด้วยซึ่งเป็นที่มาของภาชนะบรรจุอาหารที่ได้รับความนิยมจากแม่บ้านในสมัยนั้นในชื่อของทัปเปอร์แวร์ (Tupperware ®) นั่นเองการใช้งาน: HDPE ทนทานต่อสารเคมีและตัวทำละลายหลายชนิดมีความยืดหยุ่นต่อแรงกระทบกระแทกไม่แตกร้าวง่ายสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในงานต่างๆ (เป่าพลาสติก) โดยเฉพาะการผลิตภาชนะบรรจุที่เตรียมจากการเป่าจากแม่พิมพ์เนื่องจากหดตัวในแม่พิมพ์ได้ดีมากไม่ติดแม่พิมพ์ทำให้ถอดออกจากแม่พิมพ์ได้ง่ายภาชนะที่ผลิตจาก HDPE เช่นขวดบรรจุนมสดขวดบรรจุน้ำยาซักผ้าถังบรรจุน้ำมันในยานยนต์ท่อประปาโต๊ะเก้าอี้พับได้ถุงพลาสติกฯลฯ นอกจากนี้ HDPE ยังใช้ในการบุพื้นบ่อฝังกลบขยะเพื่อป้องกันการรั่วซึมของสารเคมีลงสู่พื้นดินและแหล่งน้ำธรรมชาติ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก HDPE-ขวดน้ำดื่มขวดบรรจุนมถาดทำน้ำแข็ง-ภาชนะกล่องกระปุกบรรจุอาหารกระปุกยาและวิตามิน-ขวดใส่สารเคมีขวดสบู่เหลว (ขวดปั๊ม) ขวดน้ำยาซักผ้ากระป๋องแป้ง-ลังและกล่องบรรจุสินค้าถุงใส่ของ-เครื่องเล่นเด็ก-ฉนวนไฟฟ้า-โต๊ะเก้าอี้ชื่อพ้อง: พอลิเอทิลีน High-density Polyethylene, Polyethylene high-density, PEHDสูตรโครงสร้างทางเคมี: พอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่างๆ ทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาดตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุลต่ำไปจนถึงขนาดโมเลกุลสูง (ลักษณะเป็นน้ำมันหรือไขข้น) (ลักษณะเป็นของแข็งที่ยืดหยุ่นได้)คุณสมบัติทางกายภาพ: HDPE มีโครงสร้างทางเคมีที่เป็นกิ่งสาขา (สาขา) น้อยจึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ค่อนข้างสูงมีความแข็งแรงเมื่อความหนาแน่นสูงขึ้นจะทำให้มีความแข็งและความเหนียวเพิ่มขึ้นแต่เมื่อความหนาแน่นลดลงจะทำให้ผิวแตกรานได้ง่ายทนความร้อนได้ไม่มากนักแต่ทนสารเคมีได้ดีโดยทนความร้อน (ทนอุณหภูมิสูงถึง 110° C และทนอุณหภูมิสูงถึง 120° C ได้ในช่วงสั้นๆ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้ำ (ด้วย) เท่าพลาสติกชนิด PP (โพรพิลีน สัญลักษณ์เลข 5) และทนต่อสารเคมีมากกว่า LDPE (เอทิลีนความหนาแน่นต่ำ สัญลักษณ์เลข 4) ทนต่อสภาพอากาศได้ดีพอสมควรแต่อากาศสามารถซึมผ่านได้ HDPE มีสีขาวขุ่นโปร่งแสงมีความลื่นมันในตัวมีความเหนียวและยืดหยุ่นไม่มีกลิ่นไม่มีรสมีความหนาแน่นต่ำกว่าน้ำจึงลอยน้ำได้สามารถผสมให้มีสีต่างๆ ได้ความเป็นมา: พอลิเอทิลีน (เอทิลีนหรือ Polythene) ถูกค้นพบในปี 1933 โดย Reginald กิบสันและ Eric Fawcett แห่งบริษัทอุตสาหกรรมเคมีอิมพีเรียล (เหมา) ในประเทศอังกฤษวัสดุประเภทนี้มี 2 รูปแบบคือ LDPE และ HDPE โดย LDPE ใช้ผลิตแผ่นฟิล์มและวัสดุสำหรับบรรจุหีบห่อส่วน HDPE มีความแข็งแรงกว่าใช้ผลิตบรรจุภัณฑ์ท่อน้ำและอุปกรณ์ยานยนต์ HDPE เป็นวัสดุประเภท Polyethylene Thermoplastic (Thermoplastic คือพลาสติกที่สามารถนำกลับมาหลอมใช้ใหม่ได้) ที่ได้จากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม จัดเป็นพลาสติกที่ได้รับสัญลักษณ์เลข 2 ซึ่งหมายถึง Resin Identification Code 2 เพื่อความสะดวกสำหรับการจำแนกชนิดของพลาสติกในการนำกลับไปเวียนทำใหม่ (recycled) ในปี 1945 Earl Tupper แห่งบริษัท DuPont® สังเกตว่าพอลิเอทิลีนเป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์ที่มีความเหนียว ทนทาน สามารถนำมาหล่อในแบบพิมพ์ให้มีขนาด รูปร่าง และผสมสีให้มีสีต่าง ๆ ได้ จึงเริ่มด้วยการผลิตแก้วน้ำพลาสติก และชามอ่าง ซึ่งได้รับความนิยมเนื่องจากมีน้ำหนักเบา สีสันน่าใช้ และต่อมาได้ผลิตภาชนะที่มีฝาปิดได้ด้วย ซึ่งเป็นที่มาของภาชนะบรรจุอาหารที่ได้รับความนิยมจากแม่บ้านในสมัยนั้น ในชื่อของทัปเปอร์แวร์ (Tupperware®) นั่นเองการใช้งาน : HDPE ทนทานต่อสารเคมีและตัวทำละลายหลายชนิด มีความยืดหยุ่นต่อแรงกระทบกระแทก ไม่แตกร้าวง่าย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในงานต่าง ๆ โดยเฉพาะการผลิตภาชนะบรรจุที่เตรียมจากการเป่าจากแม่พิมพ์ (blow molding) เนื่องจากหดตัวในแม่พิมพ์ได้ดีมาก ไม่ติดแม่พิมพ์ ทำให้ถอดออกจากแม่พิมพ์ได้ง่าย ภาชนะที่ผลิตจาก HDPE เช่น ขวดบรรจุนมสด ขวดบรรจุน้ำยาซักผ้า ถังบรรจุน้ำมันในยานยนต์ ท่อประปา โต๊ะ-เก้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อพ้อง : พอลิเอทิลีนความหนาแน่นสูง polyethylene ความหนาแน่นสูง polyethylene , สูตรโครงสร้างทางเคมี :



pehdพอลิเอทิลีนผลิตจากแก๊สเอทิลีนที่ผ่านกระบวนการเติมสารที่ทำให้สามารถจับตัวกันเป็นพอลิเมอร์ได้ภายใต้แรงดันขนาดต่างจะทำให้ได้พอลิเมอร์ที่มีขนาดตั้งแต่น้ำหนักโมเลกุลต่ำ ( ลักษณะเป็นน้ำมันหรือไขข้น )( ลักษณะเป็นของแข็งที่ยืดหยุ่นได้ )
คุณสมบัติทางกายภาพ :

มีโครงสร้างทางเคมีที่เป็นกิ่งสาขา HDPE ( กิ่ง ) น้อยจึงมีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของพอลิเมอร์ค่อนข้างสูงมีความแข็งแรงเมื่อความหนาแน่นสูงขึ้นจะทำให้มีความแข็งและความเหนียวเพิ่มขึ้นแต่เมื่อความหนาแน่นลดลงทนความร้อนได้ไม่มากนักแต่ทนสารเคมีได้ดีโดยทนความร้อน ( ทนอุณหภูมิสูงถึง 110 ° C และทนอุณหภูมิสูงถึง 120 ° C จะได้ในช่วงสั้น ) แต่ไม่สามารถทนอุณหภูมิสูงในหม้ออัดไอน้ำ ( Autoclave ) เท่าพลาสติกชนิด PP ( Polypropylene ,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: