โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ "คล

โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ "คลองลัดโพธิ์"



คลองลัดโพธิ์ เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีกระแสร์พระราชดำรัสถึง เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ว่าเป็นสถานที่ตัวอย่างของการบริหารจัดการน้ำ ที่ต้องการความรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลาน้ำขึ้นน้ำลง หากบริหารจัดการให้ถูกต้องจะสามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมได้ และทรงเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปทรงเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ และทรงเปิดสะพานภูมิพล ๑ ภูมิพล ๒ ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๓
คลองลัดโพธิ์ เป็นชื่อคลองเดิม บริเวณเขตจังหวัดสมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร (ต.ทรงคะนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ) เดิมที่มีลักษณะตื้นเขิน ต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ เป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร โดยยึดหลักการ "เบี่ยงน้ำ" (Diversion) ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก ๓ หน่วยงานคือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร และคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร.)
มีหลักการคือ จากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง ๑๘กิโลเมตร นั้นทำให้การระบายน้ำที่ท่วมพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้า ไม่ทันเวลาน้ำทะเลหนุน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯจึงมีพระราชดำริให้พัฒนาใช้คลองลัดโพธิ์ ซึ่งเดิมมีความตื้นเขินมีความยาวราว ๖๐๐ เมตร ให้ใช้ระบายน้ำที่หลากและน้ำที่ท่วมทางสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาลงสู่ทะเลทันทีในช่วงก่อนที่น้ำทะเลหนุน และปิดคลองลัดโพธิ์เมื่อน้ำทะเลหนุน เพื่อหน่วงน้ำทะเลไม่ให้ขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยาที่คดโค้งถึง ๑๘ กิโลเมตรก่อนซึ่งใช้เวลามากจนถึงเวลาน้ำลง ทำให้ไม่สามารถขึ้นไปท่วมตัวเมืองได้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ "คลองลัดโพธิ์" คลองลัดโพธิ์เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีกระแสร์พระราชดำรัสถึงเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคมพ.ศ. ๒๕๔๙ ว่าเป็นสถานที่ตัวอย่างของการบริหารจัดการน้ำที่ต้องการความรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลาน้ำขึ้นน้ำลงหากบริหารจัดการให้ถูกต้องจะสามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมได้และทรงเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปทรงเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์และทรงเปิดสะพานภูมิพล ๑ ภูมิพล ๒ ในวันที่ ๒๔ พฤศจิกายนพ.ศ. ๒๕๕๓ คลองลัดโพธิ์เป็นชื่อคลองเดิมบริเวณเขตจังหวัดสมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร (ต.ทรงคะนองอ.พระประแดงจ.สมุทรปราการ) โดยยึดหลักการเป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครเดิมที่มีลักษณะตื้นเขินต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริ "เบี่ยงน้ำ" (ผัน) ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลัก ๓ หน่วยงานคือกรมชลประทานภายหลังและคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (กปร) มีหลักการคือจากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง๑๘กิโลเมตรนั้นทำให้การระบายน้ำที่ท่วมพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้าไม่ทันเวลาน้ำทะเลหนุนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯจึงมีพระราชดำริให้พัฒนาใช้คลองลัดโพธิ์ซึ่งเดิมมีความตื้นเขินมีความยาวราว ๖๐๐ เมตรให้ใช้ระบายน้ำที่หลากและน้ำที่ท่วมทางสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาลงสู่ทะเลทันทีในช่วงก่อนที่น้ำทะเลหนุนและปิดคลองลัดโพธิ์เมื่อน้ำทะเลหนุนเพื่อหน่วงน้ำทะเลไม่ให้ขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแม่น้ำเจ้าพระยาที่คดโค้งถึง ๑๘ กิโลเมตรก่อนซึ่งใช้เวลามากจนถึงเวลาน้ำลงทำให้ไม่สามารถขึ้นไปท่วมตัวเมืองได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ " คลองลัดโพธิ์ "คลองลัดโพธิ์เป็นคลองที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีกระแสร์พระราชดำรัสถึงเมื่อวันที่โตเกียวธันวาคมพ . ศ . ๒๕๔๙ว่าเป็นสถานที่ตัวอย่างของการบริหารจัดการน้ำที่ต้องการความรู้เรื่องเกี่ยวกับเวลาน้ำขึ้นน้ำลงหากบริหารจัดการให้ถูกต้องจะสามารถแก้ปัญหาน้ำท่วมได้และทรงเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปทรงเปิดประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์และทรงเปิดสะพานภูมิพล๑ภูมิพล๒ในวัน ที่๒๔พฤศจิกายนพ . ศ . ๒๕๕๓คลองลัดโพธิ์เป็นชื่อคลองเดิมบริเวณเขตจังหวัดสมุทรปราการและกรุงเทพมหานคร ( ต . ทรงคะนอง Admiral พระประแดง . . . . สมุทรปราการ ) เดิมที่มีลักษณะตื้นเขินต่อมาได้จัดสร้างเป็นโครงการตามแนวพระราชดำริเป็นการบริหารจัดการน้ำเพื่อแก้ปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานครโดยยึดหลักการ " เบี่ยงน้ ำ " ( ผัน ) ภายใต้การดูแลของหน่วยงานหลักกันหน่วยงานคือกรมชลประทานกรุงเทพมหานครและคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ( กปร )มีหลักการคือจากสภาพของแม่น้ำเจ้าพระยาเดิมที่มีลักษณะไหลวนคดเคี้ยวบริเวณรอบพื้นที่บริเวณบางกระเจ้านั้นมีความยาวถึง๑๘กิโลเมตรนั้นทำให้การระบายน้ำที่ท่วมพื้นที่ชั้นในของกรุงเทพมหานครเป็นไปได้ช้าไม่ทันเวลาน้ำทะเลหนุนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯจึงมีพระร าชดำริให้พัฒนาใช้คลองลัดโพธิ์ซึ่งเดิมมีความตื้นเขินมีความยาวราว๖๐๐เมตรให้ใช้ระบายน้ำที่หลากและน้ำที่ท่วมทางสองฝั่งของแม่น้ำเจ้าพระยาลงสู่ทะเลทันทีในช่วงก่อนที่น้ำทะเลหนุนและปิดคลองลัดโพธิ์เมื่อน้ำทะเลหนุนเพื่อหน่วงน้ำทะเลไม่ให้ขึ้นลัดเลาะไปตามแนวแ ม่น้ำเจ้าพระยาที่คดโค้งถึง๑๘กิโลเมตรก่อนซึ่งใช้เวลามากจนถึงเวลาน้ำลงทำให้ไม่สามารถขึ้นไปท่วมตัวเมืองได้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: