ชาวมอญ สมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับเป็นความเชื่อที่ การแปล - ชาวมอญ สมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับเป็นความเชื่อที่ ไทย วิธีการพูด

ชาวมอญ สมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป

ชาวมอญ สมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆกับการยอมรับนับถือพุทธศาสนา ต่อมาชาวมอญก็ได้ประยุกต์แบบแผนและถ่ายทอดประเพณีปฏิบัตินี้มายังชาวไทยด้วย

ในส่วนของไทยก็เพิ่งจะเปลี่ยนมานับเอาวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันปีใหม่ตามแบบสากล ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ได้ไม่นาน สำหรับชาวมอญแล้ว เทศกาลสงกรานต์นั้นเป็นเทศกาลที่สำคัญเป็นอย่างยิ่ง ชาวมอญทั่วไปต่างเตรียมตัวเตรียมงานนานนับเดือน ทำความสะอาดบ้านเรือน เตรียมเสื้อผ้าใหม่ และอาหารสำหรับทำบุญตักบาตร ซึ่งเทศกาลสงกรานต์นั้นตรงกับวันที่ ๑๓–๑๗ เมษายนของทุกปี ช่วงเช้าชาวบ้านทุกครัวเรือนต่างให้ความสำคัญกับการทำบุญตักบาตร มุ่งไปที่วัดไหว้พระสวดมนต์ สมาทานศีล ช่วงบ่ายจะจัดให้มีการสรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำพระสงฆ์ และบังสุกุลอัฐฐิปู่ย่าตายาย ปล่อยนก ปล่อยปลา ค้ำโพธิ์ ถางหญ้า สร้าง-ซ่อมสะพานข้ามคูคลอง เป็นต้น
อาหารมอญ ที่นิยมทำกันในช่วงสงกรานต์เท่านั้น ก็คือ ขนมกะละแม และ ข้าวแช่ หรือ ข้าวสงกรานต์ คนมอญเรียกว่า “เปิงด้าจก์” ที่แปลว่า ข้าวน้ำ โดยเฉพาะข้าวแช่นั้นเป็นอาหารที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม มีขั้นตอนในการทำค่อนข้างพิถีพิถัน ใช้เวลาในการจัดเตรียมมาก และเมื่อปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะต้องนำไปถวายบูชาต่อเทวดา จากนั้นจะนำไปถวายพระและแบ่งไปส่งผู้หลักผู้ใหญ่ ที่เหลือจากนั้นจึงจะนำมาตั้งวงแบ่งกันกินกันเองภายในครัวเรือน
การกินข้าวแช่ เป็นการกินอาหารที่สอดรับกับสภาพภูมิอากาศได้เป็นอย่างดี เพราะช่วงฤดูร้อน การกินอาหารที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบมากๆ ทำให้ย่อยง่าย ลดอุณหภูมิภายในร่างกาย คลายร้อน สร้างสมดุลภายในร่างกาย ผิวพรรณชุ่มชื่น ลดความเสี่ยงต่อการเจ็บไข้ได้ป่วย เช่น ผิวแห้ง ปากแตก จากอาการร้อนใน ท้องผูก

ตำนานข้าวแช่

การทำข้าวแช่สืบเนื่องมาจากตำนานสงกรานต์ของมอญ ดังที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (จารึกไว้ในแผ่นศิลารวม ๗ แผ่น ติดไว้ที่คอสองในศาลาล้อมพระมณฑปทิศเหนือ ปัจจุบันบางแผ่นหายไปแล้ว) กล่าวคือ มีเศรษฐีผู้หนึ่งไม่มีบุตรธิดา เป็นที่อับอายแก่ชาวบ้านและวิตกทุกข์ร้อนใจในอันที่ยังขาดผู้สืบทอดมรดกทรัพย์สินบรรดามีทั้งปวง ทำการบวงสรวงบูชาแก่พระอาทิตย์ พระจันทร์ ทว่ากาลเวลาผ่านไป ๓ ปี ก็หาเป็นผลแต่อย่างใดไม่ ต่อมาในวันหนึ่งเป็นวันในคิมหันตฤดูเจตมาส คนทั้งหลายเล่นนักขัตฤกษ์ต้นปีใหม่ทั่วชมพูทวีป คือพระอาทิตย์ก็จากราศีมีนประเวศสู่เมษราศี โลกสมมุติว่า วันมหาสงกรานต์ เศรษฐีได้พาบริวารไปยังโคนต้นไทรใหญ่ริมน้ำ อันเป็นที่อยู่ของรุกขเทวดาทั้งหลาย นำข้าวสารล้างน้ำ ๗ ครั้ง แล้วหุงบูชารุกขเทวดาประจำพระไทรนั้น ตั้งจิตอธิษฐานขอบุตร และรุกขเทวดาพระไทรนั้นก็เมตตาให้เทพบุตร (ธรรมบาลกุมาร) มาจุติเป็นบุตรของเศรษฐีสมความปรารถนา

ครั้นต่อมา ชาวมอญ มีความเชื่อว่าหากได้กระทำพิธีเช่นว่านี้ บูชาต่อเทวดาในเทศกาลสงกรานต์แล้ว สามารถตั้งอธิษฐานจิตสิ่งใดๆย่อมได้ดังหวัง บางคนก็พาลเชื่อเลยเถิดไปถึงว่า เป็นการบูชาท้าวกบิลพรหม ซึ่งเข้ามาเกี่ยวพันกับลูกชายเศรษฐีในภายหลังด้วยการตั้งปัญหามาทาย เกี่ยวกับ “ราศี” ของมนุษย์เราตามตำแหน่งในช่วงเวลาต่างๆของวันหนึ่งๆ และท้ายที่สุดเมื่อธรรมบาลกุมารตอบถูก ท้าวกบิลพรหมก็ต้องตัดพระเศียรตามคำท้าของตนบูชาธรรมบาลกุมาร กระทั่งเดือดร้อนให้ลูกสาวทั้ง ๗ คน ต้องผลัดเวรกันมาถือพานรองรับพระเศียรพระบิดา ปีละคน กันมิให้พระเศียรตกถึงพื้นดิน อันจะนำมาซึ่งไฟบรรลัยกัลป์ล้างผลาญโลก หรือแม้แต่ล่องลอยอยู่ในอากาศ ก็ยังทำฝนแล้ง รวมทั้งน้ำจะเหือดแห้ง หากตกลงมหาสมุทร และนั่นก็เป็นที่มาของตำนานการกำเนิด นางสงกรานต์ อีกด้วย

วิธีการปรุงข้าวแช่
การหุงข้าวแช่ในอดีตจึงเป็นพิธีกรรมในการบูชาเทวดาอย่างหนึ่ง เป็นการหุงข้าวที่มีขั้นตอนซับซ้อน แฝงพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์ กล่าวคือ ทุกขั้นตอนในการเตรียมข้าวแช่นั้นต้องพิถีพิถัน เริ่มตั้งแต่คัดข้าวสารเม็ดสวย นำมาซาวน้ำ ๗ ครั้ง ให้สะอาด และในการหุงข้าวนั้นต้องตั้งเตาไฟบนลานโล่งและต้องอยู่นอกชายคาบ้าน ซึ่งขั้นตอนนี้มักจะเริ่มตั้งแต่บ่ายก่อนวันสงกรานต์ (ประมาณวันที่ ๑๒ เมษายน) หุงข้าวให้สุกพอเม็ดสวย แล้วนำไปซาวน้ำ ขัดกับผนังกระบุงด้านในหรือภาชนะอะไรก็ได้ที่พื้นผิวมีความสาก เอายางข้าวออก ปล่อยให้สะเด็ดน้ำ
ส่วนน้ำที่จะทานร่วมกับข้าวแช่นั้น เตรียมโดยการนำน้ำสะอาด ต้มสุก เทลงหม้อดินเผาใบใหญ่ อบควันเทียนและดอกไม้หอม เช่น มะลิ กุหลาบมอญ กระดังงา ทิ้งไว้หนึ่งคืน ระหว่างนี้หน้าที่ของพ่อบ้านก็คือ ต้องสร้างบ้านสงกรานต์ คนมอญเรียกว่า “ฮ๊อยซังกรานต์” เป็นศาลเพียงตา ซึ่งมีความสูงระดับสายตา ปลูกสร้างขึ้นชั่วคราวอย่างง่ายๆ ตรงบริเวณลานโล่งหน้าบ้าน มักสร้างด้วยไม่ไผ่ ขนาดไม่ใหญ่มากนัก กว้างยาวประมาณ ๑ ศอก เพียงพอสำหรับวางถาดอาหารได้ ๑ สำรับเท่านั้น การตกแต่งศาลก็มีตั้งแต่ปูผ้าขาว ผูกผ้าสี ทางมะพร้าวตัดใบสั้นผ่าซีก ผูกโค้งตกแต่งเสาทั้ง ๔ ประดับด้วยดอกไม้สดเท่าที่จะหาได้ในแต่ละท้องถิ่น เพื่อความสดชื่นสวยงาม บางถิ่นนิยมประดับด้วยดอกราชพฤกษ์ หรือดอกคูน คนมอญเรียกว่า “ปะกาวซังกรานต์” ที่แปลว่าดอกสงกรานต์ เพราะดอกไม้ชนิดนี้จะออกดอกในช่วงเทศกาลสงกรานต์เสมอ และประพรมน้ำอบน้ำปรุง รอการถวายข้าวแช่บูชาเทวดาในเช้าตรู่วันรุ่งขึ้น
ส่วนกับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวแช่นั้นบางชนิดมีการตระเตรียมล่วงหน้านานนับเดือน เช่น ปลาแห้ง เนื้อแห้ง ต้องจัดหาหรือซื้อมาทำเค็มเอาไว้ล่วงหน้า บางถิ่นมีกับข้าวหรือเครื่องเคียงข้าวแช่ ๕ ชนิด บางถิ่นมี ๗ ชนิด รายละเอียดแตกต่างกันไป (ไม่มีข้อใดผิดข้อใดถูกชัดเจน เป็นไปตามสภาพแวดล้อม สภาวะทางเศรษฐกิจของแต่ละถิ่น และการประยุกต์ดัดแปลงของแต่ละคน-ผู้เขียน) ซึ่งรายการหลักๆ ได้แก่
๑. ปลาแห้งป่น
๒. เนื้อเค็มฉีกฝอย
๓. หัวไชโป้เค็มผัดไข่
๔. ไข่เค็ม
๕. กระเทียมดอง เป็นต้น

ขั้นนตอนการปรุงกับข้าวหรือเครื่องเคียงที่ค่อนข้างยุ่งยาก คือปลาแห้งป่น และเนื้อเค็มฉีกฝอย อาจมีการทำเตรียมล่วงหน้าหลายวัน ปลาแห้งป่น โดยมาก นิยมใช้ปลาช่อนเค็มตากแห้ง ย่างสุก ฉีกเอาเฉพาะเนื้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชาวมอญสมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่นับเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆกับการยอมรับนับถือพุทธศาสนาต่อมาชาวมอญก็ได้ประยุกต์แบบแผนและถ่ายทอดประเพณีปฏิบัตินี้มายังชาวไทยด้วย

ในส่วนของไทยก็เพิ่งจะเปลี่ยนมานับเอาวันที่ ๑ มกราคมเป็นวันปีใหม่ตามแบบสากลภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ๒๔๗๕ ได้ไม่นานสำหรับชาวมอญแล้วเทศกาลสงกรานต์นั้นเป็นเทศกาลที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งชาวมอญทั่วไปต่างเตรียมตัวเตรียมงานนานนับเดือนทำความสะอาดบ้านเรือนเตรียมเสื้อผ้าใหม่และอาหารสำหรับทำบุญตักบาตร ๑๓ – ๑๗ เมษายนของทุกปีช่วงเช้าชาวบ้านทุกครัวเรือนต่างให้ความสำคัญกับการทำบุญตักบาตรมุ่งไปที่วัดไหว้พระสวดมนต์สมาทานศีลช่วงบ่ายจะจัดให้มีการสรงน้ำพระพุทธรูปสรงน้ำพระสงฆ์และบังสุกุลอัฐฐิปู่ย่าตายาย ปล่อยปลาค้ำโพธิ์ถางหญ้าสร้างซ่อมสะพานข้ามคูคลองเป็นต้น
อาหารมอญที่นิยมทำกันในช่วงสงกรานต์เท่านั้นก็คือขนมกะละแมและข้าวแช่หรือข้าวสงกรานต์คนมอญเรียกว่า "เปิงด้าจก์" ที่แปลว่าข้าวน้ำโดยเฉพาะข้าวแช่นั้นเป็นอาหารที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม ใช้เวลาในการจัดเตรียมมากและเมื่อปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะต้องนำไปถวายบูชาต่อเทวดาจากนั้นจะนำไปถวายพระและแบ่งไปส่งผู้หลักผู้ใหญ่ที่เหลือจากนั้นจึงจะนำมาตั้งวงแบ่งกันกินกันเองภายในครัวเรือน
การกินข้าวแช่เป็นการกินอาหารที่สอดรับกับสภาพภูมิอากาศได้เป็นอย่างดีเพราะช่วงฤดูร้อนการกินอาหารที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบมาก ๆ ทำให้ย่อยง่ายลดอุณหภูมิภายในร่างกายคลายร้อนสร้างสมดุลภายในร่างกาย ลดความเสี่ยงต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยเช่นผิวแห้งปากแตกจากอาการร้อนในท้องผูก

ตำนานข้าวแช่

การทำข้าวแช่สืบเนื่องมาจากตำนานสงกรานต์ของมอญดังที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (จารึกไว้ในแผ่นศิลารวม ๗ แผ่นติดไว้ที่คอสองในศาลาล้อมพระมณฑปทิศเหนือ กล่าวคือมีเศรษฐีผู้หนึ่งไม่มีบุตรธิดาเป็นที่อับอายแก่ชาวบ้านและวิตกทุกข์ร้อนใจในอันที่ยังขาดผู้สืบทอดมรดกทรัพย์สินบรรดามีทั้งปวงทำการบวงสรวงบูชาแก่พระอาทิตย์พระจันทร์ทว่ากาลเวลาผ่านไป ๓ ปี ต่อมาในวันหนึ่งเป็นวันในคิมหันตฤดูเจตมาสคนทั้งหลายเล่นนักขัตฤกษ์ต้นปีใหม่ทั่วชมพูทวีปคือพระอาทิตย์ก็จากราศีมีนประเวศสู่เมษราศีโลกสมมุติว่าวันมหาสงกรานต์เศรษฐีได้พาบริวารไปยังโคนต้นไทรใหญ่ริมน้ำ นำข้าวสารล้างน้ำ ๗ ครั้งแล้วหุงบูชารุกขเทวดาประจำพระไทรนั้นมาจุติเป็นบุตรของเศรษฐีสมความปรารถนาตั้งจิตอธิษฐานขอบุตรและรุกขเทวดาพระไทรนั้นก็เมตตาให้เทพบุตร (ธรรมบาลกุมาร)

ครั้นต่อมาชาวมอญมีความเชื่อว่าหากได้กระทำพิธีเช่นว่านี้บูชาต่อเทวดาในเทศกาลสงกรานต์แล้วสามารถตั้งอธิษฐานจิตสิ่งใดๆย่อมได้ดังหวังบางคนก็พาลเชื่อเลยเถิดไปถึงว่าเป็นการบูชาท้าวกบิลพรหม เกี่ยวกับ "ราศี" ของมนุษย์เราตามตำแหน่งในช่วงเวลาต่างๆของวันหนึ่ง ๆ และท้ายที่สุดเมื่อธรรมบาลกุมารตอบถูกท้าวกบิลพรหมก็ต้องตัดพระเศียรตามคำท้าของตนบูชาธรรมบาลกุมารกระทั่งเดือดร้อนให้ลูกสาวทั้ง ๗ คน ปีละคนกันมิให้พระเศียรตกถึงพื้นดินอันจะนำมาซึ่งไฟบรรลัยกัลป์ล้างผลาญโลกหรือแม้แต่ล่องลอยอยู่ในอากาศก็ยังทำฝนแล้งรวมทั้งน้ำจะเหือดแห้งหากตกลงมหาสมุทรและนั่นก็เป็นที่มาของตำนานการกำเนิดนางสงกรานต์
วิธีการปรุงข้าวแช่
การหุงข้าวแช่ในอดีตจึงเป็นพิธีกรรมในการบูชาเทวดาอย่างหนึ่งเป็นการหุงข้าวที่มีขั้นตอนซับซ้อนแฝงพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์กล่าวคือทุกขั้นตอนในการเตรียมข้าวแช่นั้นต้องพิถีพิถัน นำมาซาวน้ำ ๗ ครั้งให้สะอาดและในการหุงข้าวนั้นต้องตั้งเตาไฟบนลานโล่งและต้องอยู่นอกชายคาบ้านซึ่งขั้นตอนนี้มักจะเริ่มตั้งแต่บ่ายก่อนวันสงกรานต์ (ประมาณวันที่ ๑๒ เมษายน) หุงข้าวให้สุกพอเม็ดสวย ขัดกับผนังกระบุงด้านในหรือภาชนะอะไรก็ได้ที่พื้นผิวมีความสากเอายางข้าวออกปล่อยให้สะเด็ดน้ำ
ส่วนน้ำที่จะทานร่วมกับข้าวแช่นั้นเตรียมโดยการนำน้ำสะอาดต้มสุกเทลงหม้อดินเผาใบใหญ่อบควันเทียนและดอกไม้หอมเช่นมะลิกุหลาบมอญกระดังงาทิ้งไว้หนึ่งคืนระหว่างนี้หน้าที่ของพ่อบ้านก็คือ คนมอญเรียกว่า "ฮ๊อยซังกรานต์" เป็นศาลเพียงตาซึ่งมีความสูงระดับสายตาปลูกสร้างขึ้นชั่วคราวอย่างง่าย ๆ ตรงบริเวณลานโล่งหน้าบ้านมักสร้างด้วยไม่ไผ่ขนาดไม่ใหญ่มากนักกว้างยาวประมาณ ๑ ศอก ๑ สำรับเท่านั้นการตกแต่งศาลก็มีตั้งแต่ปูผ้าขาวผูกผ้าสีทางมะพร้าวตัดใบสั้นผ่าซีกผูกโค้งตกแต่งเสาทั้ง ๔ ประดับด้วยดอกไม้สดเท่าที่จะหาได้ในแต่ละท้องถิ่นเพื่อความสดชื่นสวยงาม หรือดอกคูนคนมอญเรียกว่า "ปะกาวซังกรานต์" ที่แปลว่าดอกสงกรานต์เพราะดอกไม้ชนิดนี้จะออกดอกในช่วงเทศกาลสงกรานต์เสมอและประพรมน้ำอบน้ำปรุงรอการถวายข้าวแช่บูชาเทวดาในเช้าตรู่วันรุ่งขึ้น
ส่วนกับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวแช่นั้นบางชนิดมีการตระเตรียมล่วงหน้านานนับเดือนเช่นปลาแห้งเนื้อแห้งต้องจัดหาหรือซื้อมาทำเค็มเอาไว้ล่วงหน้าบางถิ่นมีกับข้าวหรือเครื่องเคียงข้าวแช่ ๕ สิ่งบางถิ่นมี ๗ ได้แก่ซึ่งรายการหลัก ๆ รายละเอียดแตกต่างกันไป (ไม่มีข้อใดผิดข้อใดถูกชัดเจนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมสภาวะทางเศรษฐกิจของแต่ละถิ่นและการประยุกต์ดัดแปลงของแต่ละคน-ผู้เขียน)
๑ . ปลาแห้งป่น
๒ . เนื้อเค็มฉีกฝอย
๓ หัวไชโป้เค็มผัดไข่
๔ . ไข่เค็ม
เป็นต้นกระเทียมดอง ๕ .

ขั้นนตอนการปรุงกับข้าวหรือเครื่องเคียงที่ค่อนข้างยุ่งยากคือปลาแห้งป่นและเนื้อเค็มฉีกฝอยอาจมีการทำเตรียมล่วงหน้าหลายวันปลาแห้งป่นโดยมากนิยมใช้ปลาช่อนเค็มตากแห้งย่างสุกฉีกเอาเฉพาะเนื้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชาวมอญ สมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ นับเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆกับการยอมรับนับถือพุทธศาสนา ต่อมาชาวมอญก็ได้ประยุกต์แบบแผนและถ่ายทอดประเพณีปฏิบัตินี้มายังชาวไทยด้วย

ในส่วนของไทยก็เพิ่งจะเปลี่ยนมานับเอาวันที่ ๑ มกราคม เป็นวันปีใหม่ตามแบบสากล ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ ได้ไม่นาน สำหรับชาวมอญแล้ว เทศกาลสงกรานต์นั้นเป็นเทศกาลที่สำคัญเป็นอย่างยิ่ง ชาวมอญทั่วไปต่างเตรียมตัวเตรียมงานนานนับเดือน ทำความสะอาดบ้านเรือน เตรียมเสื้อผ้าใหม่ และอาหารสำหรับทำบุญตักบาตร ซึ่งเทศกาลสงกรานต์นั้นตรงกับวันที่ ๑๓–๑๗ เมษายนของทุกปี ช่วงเช้าชาวบ้านทุกครัวเรือนต่างให้ความสำคัญกับการทำบุญตักบาตร มุ่งไปที่วัดไหว้พระสวดมนต์ สมาทานศีล ช่วงบ่ายจะจัดให้มีการสรงน้ำพระพุทธรูป สรงน้ำพระสงฆ์ และบังสุกุลอัฐฐิปู่ย่าตายาย ปล่อยนก ปล่อยปลา ค้ำโพธิ์ ถางหญ้า สร้าง-ซ่อมสะพานข้ามคูคลอง เป็นต้น
อาหารมอญ ที่นิยมทำกันในช่วงสงกรานต์เท่านั้น ก็คือ ขนมกะละแม และ ข้าวแช่ หรือ ข้าวสงกรานต์ คนมอญเรียกว่า “เปิงด้าจก์” ที่แปลว่า ข้าวน้ำ โดยเฉพาะข้าวแช่นั้นเป็นอาหารที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรม มีขั้นตอนในการทำค่อนข้างพิถีพิถัน ใช้เวลาในการจัดเตรียมมาก และเมื่อปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะต้องนำไปถวายบูชาต่อเทวดา จากนั้นจะนำไปถวายพระและแบ่งไปส่งผู้หลักผู้ใหญ่ ที่เหลือจากนั้นจึงจะนำมาตั้งวงแบ่งกันกินกันเองภายในครัวเรือน
การกินข้าวแช่ เป็นการกินอาหารที่สอดรับกับสภาพภูมิอากาศได้เป็นอย่างดี เพราะช่วงฤดูร้อน การกินอาหารที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบมากๆ ทำให้ย่อยง่าย ลดอุณหภูมิภายในร่างกาย คลายร้อน สร้างสมดุลภายในร่างกาย ผิวพรรณชุ่มชื่น ลดความเสี่ยงต่อการเจ็บไข้ได้ป่วย เช่น ผิวแห้ง ปากแตก จากอาการร้อนใน ท้องผูก

ตำนานข้าวแช่

การทำข้าวแช่สืบเนื่องมาจากตำนานสงกรานต์ของมอญ ดังที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (จารึกไว้ในแผ่นศิลารวม ๗ แผ่น ติดไว้ที่คอสองในศาลาล้อมพระมณฑปทิศเหนือ ปัจจุบันบางแผ่นหายไปแล้ว) กล่าวคือ มีเศรษฐีผู้หนึ่งไม่มีบุตรธิดา เป็นที่อับอายแก่ชาวบ้านและวิตกทุกข์ร้อนใจในอันที่ยังขาดผู้สืบทอดมรดกทรัพย์สินบรรดามีทั้งปวง ทำการบวงสรวงบูชาแก่พระอาทิตย์ พระจันทร์ ทว่ากาลเวลาผ่านไป ๓ ปี ก็หาเป็นผลแต่อย่างใดไม่ ต่อมาในวันหนึ่งเป็นวันในคิมหันตฤดูเจตมาส คนทั้งหลายเล่นนักขัตฤกษ์ต้นปีใหม่ทั่วชมพูทวีป คือพระอาทิตย์ก็จากราศีมีนประเวศสู่เมษราศี โลกสมมุติว่า วันมหาสงกรานต์ เศรษฐีได้พาบริวารไปยังโคนต้นไทรใหญ่ริมน้ำ อันเป็นที่อยู่ของรุกขเทวดาทั้งหลาย นำข้าวสารล้างน้ำ ๗ ครั้ง แล้วหุงบูชารุกขเทวดาประจำพระไทรนั้น ตั้งจิตอธิษฐานขอบุตร และรุกขเทวดาพระไทรนั้นก็เมตตาให้เทพบุตร (ธรรมบาลกุมาร) มาจุติเป็นบุตรของเศรษฐีสมความปรารถนา

ครั้นต่อมา ชาวมอญ มีความเชื่อว่าหากได้กระทำพิธีเช่นว่านี้ บูชาต่อเทวดาในเทศกาลสงกรานต์แล้ว สามารถตั้งอธิษฐานจิตสิ่งใดๆย่อมได้ดังหวัง บางคนก็พาลเชื่อเลยเถิดไปถึงว่า เป็นการบูชาท้าวกบิลพรหม ซึ่งเข้ามาเกี่ยวพันกับลูกชายเศรษฐีในภายหลังด้วยการตั้งปัญหามาทาย เกี่ยวกับ “ราศี” ของมนุษย์เราตามตำแหน่งในช่วงเวลาต่างๆของวันหนึ่งๆ และท้ายที่สุดเมื่อธรรมบาลกุมารตอบถูก ท้าวกบิลพรหมก็ต้องตัดพระเศียรตามคำท้าของตนบูชาธรรมบาลกุมาร กระทั่งเดือดร้อนให้ลูกสาวทั้ง ๗ คน ต้องผลัดเวรกันมาถือพานรองรับพระเศียรพระบิดา ปีละคน กันมิให้พระเศียรตกถึงพื้นดิน อันจะนำมาซึ่งไฟบรรลัยกัลป์ล้างผลาญโลก หรือแม้แต่ล่องลอยอยู่ในอากาศ ก็ยังทำฝนแล้ง รวมทั้งน้ำจะเหือดแห้ง หากตกลงมหาสมุทร และนั่นก็เป็นที่มาของตำนานการกำเนิด นางสงกรานต์ อีกด้วย

วิธีการปรุงข้าวแช่
การหุงข้าวแช่ในอดีตจึงเป็นพิธีกรรมในการบูชาเทวดาอย่างหนึ่ง เป็นการหุงข้าวที่มีขั้นตอนซับซ้อน แฝงพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์ กล่าวคือ ทุกขั้นตอนในการเตรียมข้าวแช่นั้นต้องพิถีพิถัน เริ่มตั้งแต่คัดข้าวสารเม็ดสวย นำมาซาวน้ำ ๗ ครั้ง ให้สะอาด และในการหุงข้าวนั้นต้องตั้งเตาไฟบนลานโล่งและต้องอยู่นอกชายคาบ้าน ซึ่งขั้นตอนนี้มักจะเริ่มตั้งแต่บ่ายก่อนวันสงกรานต์ (ประมาณวันที่ ๑๒ เมษายน) หุงข้าวให้สุกพอเม็ดสวย แล้วนำไปซาวน้ำ ขัดกับผนังกระบุงด้านในหรือภาชนะอะไรก็ได้ที่พื้นผิวมีความสาก เอายางข้าวออก ปล่อยให้สะเด็ดน้ำ
ส่วนน้ำที่จะทานร่วมกับข้าวแช่นั้น เตรียมโดยการนำน้ำสะอาด ต้มสุก เทลงหม้อดินเผาใบใหญ่ อบควันเทียนและดอกไม้หอม เช่น มะลิ กุหลาบมอญ กระดังงา ทิ้งไว้หนึ่งคืน ระหว่างนี้หน้าที่ของพ่อบ้านก็คือ ต้องสร้างบ้านสงกรานต์ คนมอญเรียกว่า “ฮ๊อยซังกรานต์” เป็นศาลเพียงตา ซึ่งมีความสูงระดับสายตา ปลูกสร้างขึ้นชั่วคราวอย่างง่ายๆ ตรงบริเวณลานโล่งหน้าบ้าน มักสร้างด้วยไม่ไผ่ ขนาดไม่ใหญ่มากนัก กว้างยาวประมาณ ๑ ศอก เพียงพอสำหรับวางถาดอาหารได้ ๑ สำรับเท่านั้น การตกแต่งศาลก็มีตั้งแต่ปูผ้าขาว ผูกผ้าสี ทางมะพร้าวตัดใบสั้นผ่าซีก ผูกโค้งตกแต่งเสาทั้ง ๔ ประดับด้วยดอกไม้สดเท่าที่จะหาได้ในแต่ละท้องถิ่น เพื่อความสดชื่นสวยงาม บางถิ่นนิยมประดับด้วยดอกราชพฤกษ์ หรือดอกคูน คนมอญเรียกว่า “ปะกาวซังกรานต์” ที่แปลว่าดอกสงกรานต์ เพราะดอกไม้ชนิดนี้จะออกดอกในช่วงเทศกาลสงกรานต์เสมอ และประพรมน้ำอบน้ำปรุง รอการถวายข้าวแช่บูชาเทวดาในเช้าตรู่วันรุ่งขึ้น
ส่วนกับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวแช่นั้นบางชนิดมีการตระเตรียมล่วงหน้านานนับเดือน เช่น ปลาแห้ง เนื้อแห้ง ต้องจัดหาหรือซื้อมาทำเค็มเอาไว้ล่วงหน้า บางถิ่นมีกับข้าวหรือเครื่องเคียงข้าวแช่ ๕ ชนิด บางถิ่นมี ๗ ชนิด รายละเอียดแตกต่างกันไป (ไม่มีข้อใดผิดข้อใดถูกชัดเจน เป็นไปตามสภาพแวดล้อม สภาวะทางเศรษฐกิจของแต่ละถิ่น และการประยุกต์ดัดแปลงของแต่ละคน-ผู้เขียน) ซึ่งรายการหลักๆ ได้แก่
๑. ปลาแห้งป่น
๒. เนื้อเค็มฉีกฝอย
๓. หัวไชโป้เค็มผัดไข่
๔. ไข่เค็ม
๕. กระเทียมดอง เป็นต้น

ขั้นนตอนการปรุงกับข้าวหรือเครื่องเคียงที่ค่อนข้างยุ่งยาก คือปลาแห้งป่น และเนื้อเค็มฉีกฝอย อาจมีการทำเตรียมล่วงหน้าหลายวัน ปลาแห้งป่น โดยมาก นิยมใช้ปลาช่อนเค็มตากแห้ง ย่างสุก ฉีกเอาเฉพาะเนื้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชาวมอญสมัยโบราณถือว่าวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่นับเป็นความเชื่อที่ได้แบบอย่างมาจากอินเดียพร้อมๆกับการยอมรับนับถือพุทธศาสนาต่อมาชาวมอญก็ได้ประยุกต์แบบแผนและถ่ายทอดประเพณีปฏิบัตินี้มายังชาวไทยด้วย

ในส่วนของไทยก็เพิ่งจะเปลี่ยนมานับเอาวันที่๑มกราคมเป็นวันปีใหม่ตามแบบสากลภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ . ศ .๒๔๗๕ได้ไม่นานสำหรับชาวมอญแล้วเทศกาลสงกรานต์นั้นเป็นเทศกาลที่สำคัญเป็นอย่างยิ่งชาวมอญทั่วไปต่างเตรียมตัวเตรียมงานนานนับเดือนทำความสะอาดบ้านเรือนเตรียมเสื้อผ้าใหม่และอาหารสำหรับทำบุญตักบาตร๑๓–๑๗เมษายนของทุกปีช่วงเช้าชาวบ้านทุกครัวเรือนต่างให้ความสำคัญกับการทำบุญตักบาตรมุ่งไปที่วัดไหว้พระสวดมนต์สมาทานศีลช่วงบ่ายจะจัดให้มีการสรงน้ำพระพุทธรูปสรงน้ำพระสงฆ์และบังสุกุลอัฐฐิปู่ย่าตายายปล่อยปลาค้ำโพธิ์ถางหญ้าสร้าง - ซ่อมสะพานข้ามคูคลองเป็นต้น
อาหารมอญที่นิยมทำกันในช่วงสงกรานต์เท่านั้นก็คือขนมกะละแมและข้าวแช่ค็อคข้าวสงกรานต์คนมอญเรียกว่า " เปิงด้าจก์ " ที่แปลว่าข้าวน้ำโดยเฉพาะข้าวแช่นั้นเป็นอาหารที่เกี่ยวข้องกับพิธีกรรมใช้เวลาในการจัดเตรียมมากและเมื่อปรุงเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะต้องนำไปถวายบูชาต่อเทวดาจากนั้นจะนำไปถวายพระและแบ่งไปส่งผู้หลักผู้ใหญ่ที่เหลือจากนั้นจึงจะนำมาตั้งวงแบ่งกันกินกันเองภายในครัวเรือน
การกินข้าวแช่เป็นการกินอาหารที่สอดรับกับสภาพภูมิอากาศได้เป็นอย่างดีเพราะช่วงฤดูร้อนการกินอาหารที่มีน้ำเป็นองค์ประกอบมากๆทำให้ย่อยง่ายลดอุณหภูมิภายในร่างกายคลายร้อนสร้างสมดุลภายในร่างกายลดความเสี่ยงต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยเช่นผิวแห้งปากแตกจากอาการร้อนในท้องผูก



ตำนานข้าวแช่การทำข้าวแช่สืบเนื่องมาจากตำนานสงกรานต์ของมอญดังที่พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดให้จารึกไว้ที่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ( จารึกไว้ในแผ่นศิลารวม๗แผ่นติดไว้ที่คอสองในศาลาล้อมพระมณฑปทิศเหนือกล่าวคือมีเศรษฐีผู้หนึ่งไม่มีบุตรธิดาเป็นที่อับอายแก่ชาวบ้านและวิตกทุกข์ร้อนใจในอันที่ยังขาดผู้สืบทอดมรดกทรัพย์สินบรรดามีทั้งปวงทำการบวงสรวงบูชาแก่พระอาทิตย์พระจันทร์ทว่ากาลเวลาผ่านไปล่ะ .ต่อมาในวันหนึ่งเป็นวันในคิมหันตฤดูเจตมาสคนทั้งหลายเล่นนักขัตฤกษ์ต้นปีใหม่ทั่วชมพูทวีปคือพระอาทิตย์ก็จากราศีมีนประเวศสู่เมษราศีโลกสมมุติว่าวันมหาสงกรานต์เศรษฐีได้พาบริวารไปยังโคนต้นไทรใหญ่ริมน้ำนำข้าวสารล้างน้ำ๗ครั้งแล้วหุงบูชารุกขเทวดาประจำพระไทรนั้นตั้งจิตอธิษฐานขอบุตรและรุกขเทวดาพระไทรนั้นก็เมตตาให้เทพบุตร ( ธรรมบาลกุมาร ) มาจุติเป็นบุตรของเศรษฐีสมความปรารถนา

ครั้นต่อมาชาวมอญมีความเชื่อว่าหากได้กระทำพิธีเช่นว่านี้บูชาต่อเทวดาในเทศกาลสงกรานต์แล้วสามารถตั้งอธิษฐานจิตสิ่งใดๆย่อมได้ดังหวังบางคนก็พาลเชื่อเลยเถิดไปถึงว่าเป็นการบูชาท้าวกบิลพรหมเกี่ยวกับ " ราศี " ของมนุษย์เราตามตำแหน่งในช่วงเวลาต่างๆของวันหนึ่งๆและท้ายที่สุดเมื่อธรรมบาลกุมารตอบถูกท้าวกบิลพรหมก็ต้องตัดพระเศียรตามคำท้าของตนบูชาธรรมบาลกุมารกระทั่งเดือดร้อนให้ลูกสาวทั้ง๗คนปีละคนกันมิให้พระเศียรตกถึงพื้นดินอันจะนำมาซึ่งไฟบรรลัยกัลป์ล้างผลาญโลกหรือแม้แต่ล่องลอยอยู่ในอากาศก็ยังทำฝนแล้งรวมทั้งน้ำจะเหือดแห้งหากตกลงมหาสมุทรและนั่นก็เป็นที่มาของตำนานการกำเนิดนางสงกรานต์

วิธีการปรุงข้าวแช่การหุงข้าวแช่ในอดีตจึงเป็นพิธีกรรมในการบูชาเทวดาอย่างหนึ่งเป็นการหุงข้าวที่มีขั้นตอนซับซ้อนแฝงพิธีกรรมที่ศักดิ์สิทธิ์กล่าวคือทุกขั้นตอนในการเตรียมข้าวแช่นั้นต้องพิถีพิถันนำมาซาวน้ำ๗ครั้งให้สะอาดและในการหุงข้าวนั้นต้องตั้งเตาไฟบนลานโล่งและต้องอยู่นอกชายคาบ้านซึ่งขั้นตอนนี้มักจะเริ่มตั้งแต่บ่ายก่อนวันสงกรานต์ ( ประมาณวันที่๑๒เมษายน ) หุงข้าวให้สุกพอเม็ดสวยขัดกับผนังกระบุงด้านในหรือภาชนะอะไรก็ได้ที่พื้นผิวมีความสากเอายางข้าวออกปล่อยให้สะเด็ดน้ำ
ส่วนน้ำที่จะทานร่วมกับข้าวแช่นั้นเตรียมโดยการนำน้ำสะอาดต้มสุกเทลงหม้อดินเผาใบใหญ่อบควันเทียนและดอกไม้หอมเช่นมะลิกุหลาบมอญกระดังงาทิ้งไว้หนึ่งคืนระหว่างนี้หน้าที่ของพ่อบ้านก็คือคนมอญเรียกว่า " ฮ๊อยซังกรานต์ " เป็นศาลเพียงตาซึ่งมีความสูงระดับสายตาปลูกสร้างขึ้นชั่วคราวอย่างง่ายๆตรงบริเวณลานโล่งหน้าบ้านมักสร้างด้วยไม่ไผ่ขนาดไม่ใหญ่มากนักกว้างยาวประมาณ๑ศอก๑สำรับเท่านั้นการตกแต่งศาลก็มีตั้งแต่ปูผ้าขาวผูกผ้าสีทางมะพร้าวตัดใบสั้นผ่าซีกผูกโค้งตกแต่งเสาทั้งประดับด้วยดอกไม้สดเท่าที่จะหาได้ในแต่ละท้องถิ่นเพื่อความสดชื่นสวยงามโตเกียวหรือดอกคูนคนมอญเรียกว่า " ปะกาวซังกรานต์ " ที่แปลว่าดอกสงกรานต์เพราะดอกไม้ชนิดนี้จะออกดอกในช่วงเทศกาลสงกรานต์เสมอและประพรมน้ำอบน้ำปรุงรอการถวายข้าวแช่บูชาเทวดาในเช้าตรู่วันรุ่งขึ้น
ส่วนกับข้าวที่จะรับประทานกับข้าวแช่นั้นบางชนิดมีการตระเตรียมล่วงหน้านานนับเดือนเช่นปลาแห้งเนื้อแห้งต้องจัดหาหรือซื้อมาทำเค็มเอาไว้ล่วงหน้าบางถิ่นมีกับข้าวหรือเครื่องเคียงข้าวแช่๕ชนิดบางถิ่นมี๗รายละเอียดแตกต่างกันไป ( ไม่มีข้อใดผิดข้อใดถูกชัดเจนเป็นไปตามสภาพแวดล้อมสภาวะทางเศรษฐกิจของแต่ละถิ่นและการประยุกต์ดัดแปลงของแต่ละคน - ผู้เขียน ) ซึ่งรายการหลักๆได้แก่
๑ . ปลาแห้งป่น
๒ . เนื้อเค็มฉีกฝอย
ล่ะ . หัวไชโป้เค็มผัดไข่
โตเกียว ไข่เค็ม
๕ . กระเทียมดองเป็นต้น

ขั้นนตอนการปรุงกับข้าวหรือเครื่องเคียงที่ค่อนข้างยุ่งยากคือปลาแห้งป่นและเนื้อเค็มฉีกฝอยอาจมีการทำเตรียมล่วงหน้าหลายวันปลาแห้งป่นโดยมากนิยมใช้ปลาช่อนเค็มตากแห้งย่างสุกฉีกเอาเฉพาะเนื้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: