ในระหว่าง ค.ศ.1864 -1920 แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) เป็นผู้วางรากฐานทฤษ การแปล - ในระหว่าง ค.ศ.1864 -1920 แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) เป็นผู้วางรากฐานทฤษ ไทย วิธีการพูด

ในระหว่าง ค.ศ.1864 -1920 แมกซ์ เวเบ

ในระหว่าง ค.ศ.1864 -1920 แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีองค์การที่สำคัญ โดยเฉพาะแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานขององค์การขนาดใหญ่ (Bureaucracy) ถือว่าเป็นรูปแบบขององค์การในอุดมคติ (The Ideal form of Organization) ทฤษฎีนี้มีชื่อเสียงมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1800s ส่วนพัฒนาการที่สำคัญของทฤษฎีเกิดขึ้นจากปัญหาขององค์การ ที่ฝ่ายบริหารมักจะชื่นชอบการนำ “ระบบพรรคพวก หรือระบบอุปถัมภ์ (Favoritism)” เข้าไปใช้ในการบริหารงานขององค์การที่ยาวนาน และปัญหาการบริหารงาน “ระบบอัตวิสัย (Subjectivity) ที่เข้าไปครอบงำความเป็นวัตถุนิสัย (Objectivity) ขององค์การ การเติบโตของระบบดังกล่าวต่อเนื่องกันมาถึง “สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)” และปรากฏชัดเจนว่า การใช้ระบบอุปถัมภ์ในการบริหารงาน นำไปสู่ความไร้ประสิทธิภาพในการทำงาน (Inefficiency) เวเบอร์ จึงนำเสนอแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน เรียกว่า “ทฤษฎีการจัดการองค์การขนาดใหญ่ (Bureaucracy)” เป็นทฤษฎีองค์การที่มีความเป็นเหตุเป็นผล (rational) และเป็นทางเลือกที่นำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน (Efficiency)


ส่วนประกอบทางความคิดของระบบราชการของเวเบอร์
1.แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรประกอบด้วย
1.1 ผู้นำหรือกลุ่มผู้นำ
1.2 เจ้าหน้าที่บริหาร เพื่อทำงานตามหน้าที่
1.3 สมาชิกขององค์กรอื่นๆที่เหลือ
2. แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจ
อำนาจหน้าที่ ( Authority ) ต้องแยกออกจากอำนาจ ( Power ) เพราะอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจความชอบธรรมในการสั่งการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคล
เวเบอร์แบ่งอำนาจเป็น 3 ประเภท คือ
1. อำนาจบารมี ( Charismatic Authority) มาจากลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เหนือกว่าคนอื่น
2. อำนาจประเพณี ( Traditional Authority ) เป็นการสืบทอดอำนาจกันมา
3. อำนาจตามกฎหมาย ( Legal Authority ) เป็นอำนาจที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ผู้บังคับบัญชา
และผู้ใต้บังคบบัญชา
3. แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติ
ตามทรรศนะของเวเบอร์เห็นว่าใช้เหตุผลตามกฎหมายเป็นเหตุผลที่ดีที่สุด
แนวคิดและหลักการของ “ระบบราชการ”
มีการแบ่งงานกันทำตามแนวราบ ( Horizontal Delegation) ทำให้กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบ และมีการแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง
องค์การนั้นๆต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ( Authority Hierarchy ) : โดยสำนักงานและตำแหน่งงานที่อยู่ใต้หน่วยงาน หรือ ตำแหน่งงานนั้นอยู่ใต้การดูแลในระดับสูงขึ้นไป
ระบบคัดเลือกคนงาน ( Formal Selection ) : ผู้ที่เข้าร่วมในหน่วยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและคุณสมบัติ ที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอย่างเป็นทางการ
มีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ( Evidence and Reference )
องค์การต้องมีระเบียบ และกฎเกณฑ์ ( Formal Rules and Regulations ) : ทั้งนี้เพื่อให้สามารถประกันความเป็นเอกภาพในการดำเนินการ และกำกับการทำงานของพนักงาน
ความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ( Impersonality ) : ไม่มีการถือเอาสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นใหญ่ ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ถ้าจะทำอะไรต้องเป็นไปตามเกณฑ์
การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ ( Career Orientation ) : คนทำงานจะเข้าสู่ตำแหน่งตามความสามารถของแต่ละคน มีเลื่อนขั้น และการเติบโตในหน่วยงานได้ตามลำดับ
ข้อดีของ “ระบบราชการ”
-ลำดับขั้นการบังคับบัญชาเป็นเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธ์ที่มี
ต่อกัน
-ไม่สับสนในบทบาท เพราะแต่ละคนรู้ว่าจะทำอะไรและสามารถตรวจสอบได้
-การมีกฎระเบียบทำให้รู้บทบาท ช่วยลดต้นทุนในการกำกับดูแล
-การทำงานขององค์การมีความแน่นอน มีลักษณะเป็นหลักฐานอ้างอิงได้
-มีการแบ่งแยกงานถือหลักความชำนาญเฉพาะด้าน
-กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบ
-ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ทุกคนต้องทำตามกฎเกณฑ์ที่
วางไว้
ข้อเสียของ “ระบบราชการ”
-มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทั่วประเทศ ซึ่งเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางซับซ้อน จนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบดุลพินิจใน การใช้อำนาจของข้าราชการทุกคนเป็นการเฉพาะรายได้
-ระเบียบข้อบังคับจำนวนมากนี้ได้สร้างความเคยชินกับ ข้าราชการว่าต้องเน้นความถูกต้องตามระเบียบมากกว่าประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงาน
-มีมาตรฐานการจ้างงานเพียงมาตรฐานเดียว ซึ่งทำให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องกับราคา
-เป็นระบบที่ยากที่จะทำลายได้ การไม่กล้าเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไม่กล้าทำลายกฎระเบียบที่มีอยู่ เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลาย หรือนำไปสู่การเล่นพรรคเล่นพวก
-มีแนวโน้มที่จะผูกขาดข้อมูลข่าวสาร ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทำตัวเป็นเผด็จการ
Woodrow Wilson ประธานาธิบดี คนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกา เจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ ปี ค.ศ. 1919 บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์ เจ้าของบทความอันเลื่องชื่อ "The Study of Administration" เขียนไว้ในปี ค.ศ. 1887




0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ในระหว่าง ค.ศ.1864-1920 แมกซ์เวเบอร์ (เวเบอร์ Max) เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีองค์การที่สำคัญโดยเฉพาะแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานขององค์การขนาดใหญ่ (ข้าราชการ) ถือว่าเป็นรูปแบบขององค์การในอุดมคติ (รูปแบบเหมาะขององค์กร) ทฤษฎีนี้มีชื่อเสียงมากที่สุดในช่วงทศวรรษเพราะส่วนพัฒนาการที่สำคัญของทฤษฎีเกิดขึ้นจากปัญหาขององค์การที่ฝ่ายบริหารมักจะชื่นชอบการนำ "ระบบพรรคพวกหรือระบบอุปถัมภ์ (พรรค)" เข้าไปใช้ในการบริหารงานขององค์การที่ยาวนานและปัญหาการบริหารงาน "ระบบอัตวิสัย (Subjectivity) ที่เข้าไปครอบงำความเป็นวัตถุนิสัย (วัตถุivity) ขององค์การการเติบโตของระบบดังกล่าวต่อเนื่องกันมาถึง "สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม (ปฏิวัติอุตสาหกรรม)" และปรากฏชัดเจนว่าการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการบริหารงานนำไปสู่ความไร้ประสิทธิภาพในการทำงาน (Inefficiency) เวเบอร์จึงนำเสนอแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานเรียกว่า "ทฤษฎีการจัดการองค์การขนาดใหญ่ (ข้าราชการ)" เป็นทฤษฎีองค์การที่มีความเป็นเหตุเป็นผล (เชือด) และเป็นทางเลือกที่นำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน (ประสิทธิภาพ)ส่วนประกอบทางความคิดของระบบราชการของเวเบอร์ 1.แนวคิดเกี่ยวกับองค์กรประกอบด้วย1.1 ผู้นำหรือกลุ่มผู้นำ1.2 เจ้าหน้าที่บริหารเพื่อทำงานตามหน้าที่1.3 สมาชิกขององค์กรอื่นๆที่เหลือ2. แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจเพราะอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจความชอบธรรมในการสั่งการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคลต้องแยกออกจากอำนาจ (ไฟฟ้า) อำนาจหน้าที่ (อำนาจ)เวเบอร์แบ่งอำนาจเป็น 3 ประเภทคือ1. มาจากลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เหนือกว่าคนอื่นอำนาจบารมี (บารมีอำนาจ)2. เป็นการสืบทอดอำนาจกันมาอำนาจประเพณี (อำนาจดั้งเดิม)3. เป็นอำนาจที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ผู้บังคับบัญชาอำนาจตามกฎหมาย (ผู้มีอำนาจตามกฎหมาย) และผู้ใต้บังคบบัญชา3. แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติตามทรรศนะของเวเบอร์เห็นว่าใช้เหตุผลตามกฎหมายเป็นเหตุผลที่ดีที่สุดแนวคิดและหลักการของ "ระบบราชการ"และมีการแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะอย่างทำให้กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบมีการแบ่งงานกันทำตามแนวราบ (การมอบหมายแนวนอน) องค์การนั้นๆต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น (อำนาจ): โดยสำนักงานและตำแหน่งงานที่อยู่ใต้หน่วยงานหรือตำแหน่งงานนั้นอยู่ใต้การดูแลในระดับสูงขึ้นไประบบคัดเลือกคนงาน (ทางเลือก): ผู้ที่เข้าร่วมในหน่วยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและคุณสมบัติที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอย่างเป็นทางการมีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร (หลักฐานและอ้างอิง)และกฎเกณฑ์องค์การต้องมีระเบียบ (เป็นกฎและระเบียบข้อบังคับ): ทั้งนี้เพื่อให้สามารถประกันความเป็นเอกภาพในการดำเนินการและกำกับการทำงานของพนักงานความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง (Impersonality): ไม่มีการถือเอาสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นใหญ่ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งถ้าจะทำอะไรต้องเป็นไปตามเกณฑ์การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ (การวางแนวอาชีพ): คนทำงานจะเข้าสู่ตำแหน่งตามความสามารถของแต่ละคนมีเลื่อนขั้นและการเติบโตในหน่วยงานได้ตามลำดับข้อดีของ "ระบบราชการ"-ลำดับขั้นการบังคับบัญชาเป็นเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเพราะแต่ละคนรู้ว่าจะทำอะไรและสามารถตรวจสอบได้ - ไม่สับสนในบทบาทช่วยลดต้นทุนในการกำกับดูแล - การมีกฎระเบียบทำให้รู้บทบาทมีลักษณะเป็นหลักฐานอ้างอิงได้ - การทำงานขององค์การมีความแน่นอน -มีการแบ่งแยกงานถือหลักความชำนาญเฉพาะด้าน-กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบทุกคนต้องทำตามกฎเกณฑ์ที่ - ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งวางไว้ข้อเสียของ "ระบบราชการ"-มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทั่วประเทศซึ่งเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางซับซ้อนจนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบดุลพินิจในการใช้อำนาจของข้าราชการทุกคนเป็นการเฉพาะรายได้ ปฏิบัติงานข้าราชการว่าต้องเน้นความถูกต้องตามระเบียบมากกว่าประสิทธิภาพในการ - ระเบียบข้อบังคับจำนวนมากนี้ได้สร้างความเคยชินกับและสอดคล้องกับราคาซึ่งทำให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสม - มีมาตรฐานการจ้างงานเพียงมาตรฐานเดียว-เป็นระบบที่ยากที่จะทำลายได้การไม่กล้าเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไม่กล้าทำลายกฎระเบียบที่มีอยู่เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลายหรือนำไปสู่การเล่นพรรคเล่นพวก ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทำตัวเป็นเผด็จการ - มีแนวโน้มที่จะผูกขาดข้อมูลข่าวสารWoodrow Wilson ประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกาเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปีค.ศ. 1919 บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์เจ้าของบทความอันเลื่องชื่อ "การศึกษาการจัดการ" เขียนไว้ในปีค.ศ. 1887
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ในระหว่าง ค.ศ. 1864 -1920 แมกซ์เวเบอร์ (Max Weber) (ราชการ) (รูปแบบที่เหมาะขององค์การ) ปี 1800 ที่ฝ่ายบริหารมักจะชื่นชอบการนำ "ระบบพรรคพวกหรือระบบอุปถัมภ์ (เล่นพวก)" และปัญหาการบริหารงาน "ระบบอัตวิสัย (ส่วนตัว) ที่เข้าไปครอบงำความเป็นวัตถุนิสัย (เป้าหมาย) ขององค์การ "สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม (การปฏิวัติอุตสาหกรรม)" และปรากฏชัดเจนว่าการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการบริหารงาน (ขาดประสิทธิภาพ) เวเบอร์ เรียกว่า "ทฤษฎีการจัดการองค์การขนาดใหญ่ (ราชการ)" (เหตุผล) ผู้นำหรือกลุ่มผู้นำ1.2 เจ้าหน้าที่บริหารเพื่อทำงานตามหน้าที่1.3 สมาชิกขององค์กรอื่น ๆ ที่เหลือ2 เกี่ยวกับแนวคิดอำนาจอำนาจหน้าที่ (Authority) ต้องแยกออกจากอำนาจ (พาวเวอร์) 3 ประเภทคือ1 อำนาจบารมี (บารมี Authority) อำนาจประเพณี (ดั้งเดิม Authority) เป็นการสืบทอดอำนาจกันมา3 อำนาจตามกฎหมาย (Legal Authority) (คณะผู้แทนในแนวนอน) (ผู้มีอำนาจลำดับชั้น): หรือ (อย่างเป็นทางการเลือก): (หลักฐานและเอกสารอ้างอิง) องค์การต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ (กฎระเบียบอย่างเป็นทางการ): (impersonality): (Career Orientation): มีเลื่อนขั้น เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลาย วิลสันประธานาธิบดีคนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกาเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพปี ค.ศ. 1919 บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์เจ้าของบทความอันเลื่องชื่อ "การศึกษาการบริหารงาน" เขียนไว้ในปี ค.ศ. 1887













































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ในระหว่างค . ศ .1864 - 1920 แมกซ์เวเบอร์ ( Max Weber ) เป็นผู้วางรากฐานทฤษฎีองค์การที่สำคัญโดยเฉพาะแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพการทำงานขององค์การขนาดใหญ่ ( ระบบราชการ ) ถือว่าเป็นรูปแบบขององค์การในอุดมคติ ( รูปแบบอุดมคติขององค์การ )1800 ส่วนพัฒนาการที่สำคัญของทฤษฎีเกิดขึ้นจากปัญหาขององค์การที่ฝ่ายบริหารมักจะชื่นชอบการนำ " ระบบพรรคพวกหรือระบบอุปถัมภ์ ( ลำเอียง ) " เข้าไปใช้ในการบริหารงานขององค์การที่ยาวนานและปัญหาการบริหารงาน( ส่วนตัว ) ที่เข้าไปครอบงำความเป็นวัตถุนิสัย ( ปรนัย ) ขององค์การการเติบโตของระบบดังกล่าวต่อเนื่องกันมาถึง " สมัยการปฏิวัติอุตสาหกรรม ( การปฏิวัติอุตสาหกรรม ) " และปรากฏชัดเจนว่าการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการบริหารงาน( ประสิทธิภาพ ) เวเบอร์จึงนำเสนอแนวความคิดในการพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานเรียกว่า " ทฤษฎีการจัดการองค์การขนาดใหญ่ ( ระบบราชการ ) " เป็นทฤษฎีองค์การที่มีความเป็นเหตุเป็นผล ( เหตุผล )( ประสิทธิภาพ )


ส่วนประกอบทางความคิดของระบบราชการของเวเบอร์
1

ผู้นำหรือกลุ่มผู้นำแนวคิดเกี่ยวกับองค์กรประกอบด้วย 1.1 1.2 1.3 สมาชิกขององค์กรอื่นๆที่เหลือเจ้าหน้าที่บริหารเพื่อทำงานตามหน้าที่

2 แนวคิดเกี่ยวกับอำนาจ
อำนาจหน้าที่ ( Authority ) ต้องแยกออกจากอำนาจ ( พลังงาน ) เพราะอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจหน้าที่เป็นอำนาจความชอบธรรมในการสั่งการที่ไม่ขึ้นกับตัวบุคคล
3
เวเบอร์แบ่งอำนาจเป็นประเภทความ 1อำนาจบารมี ( อำนาจบารมี ) มาจากลักษณะส่วนตัวของบุคคลที่เหนือกว่าคนอื่น
2 อำนาจประเพณี ( อำนาจดั้งเดิม ) เป็นการสืบทอดอำนาจกันมา
3 อำนาจตามกฎหมาย ( อํานาจตามกฎหมาย ) เป็นอำนาจที่กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ผู้บังคับบัญชา
และผู้ใต้บังคบบัญชา
3 แนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบในอุดมคติ


" ตามทรรศนะของเวเบอร์เห็นว่าใช้เหตุผลตามกฎหมายเป็นเหตุผลที่ดีที่สุดแนวคิดและหลักการของระบบราชการ "มีการแบ่งงานกันทำตามแนวราบ ( คณะผู้แทนแนวนอน ) ทำให้กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบและมีการแบ่งงานกันทำเพื่อให้เกิดความชำนาญเฉพาะอย่าง
องค์การนั้นๆต้องมีสายบังคับบัญชาตามลำดับชั้น ( อำนาจการปกครอง )โดยสำนักงานและตำแหน่งงานที่อยู่ใต้หน่วยงานค็อคตำแหน่งงานนั้นอยู่ใต้การดูแลในระดับสูงขึ้นไป
ระบบคัดเลือกคนงาน ( เลือกอย่างเป็นทางการ )ผู้ที่เข้าร่วมในหน่วยงานจะถูกคัดเลือกตามความสามารถและคุณสมบัติที่มีระบบการคัดเลือกและการสอบคัดเลือกอย่างเป็นทางการ

มีการยึดหลักกฎหมายและบันทึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษร ( หลักฐานอ้างอิง )องค์การต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ ( กฎที่เป็นทางการและกฎระเบียบ ) : ทั้งนี้เพื่อให้สามารถประกันความเป็นเอกภาพในการดำเนินการและกำกับการทำงานของพนักงาน
ความไม่เลือกที่รักมักที่ชัง ( เลียนแบบ )ไม่มีการถือเอาสายสัมพันธ์ในครอบครัวเป็นใหญ่ไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งถ้าจะทำอะไรต้องเป็นไปตามเกณฑ์
การแยกระบบการทำงานออกเป็นสายอาชีพ ( แนวอาชีพ )คนทำงานจะเข้าสู่ตำแหน่งตามความสามารถของแต่ละคนมีเลื่อนขั้นและการเติบโตในหน่วยงานได้ตามลำดับ
ข้อดีของ " ระบบราชการ "
-

ลำดับขั้นการบังคับบัญชาเป็นเครื่องมือควบคุมสมาชิกและความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน- ไม่สับสนในบทบาทเพราะแต่ละคนรู้ว่าจะทำอะไรและสามารถตรวจสอบได้
-

- การทำงานขององค์การมีความแน่นอนมีลักษณะเป็นหลักฐานอ้างอิงได้การมีกฎระเบียบทำให้รู้บทบาทช่วยลดต้นทุนในการกำกับดูแล- มีการแบ่งแยกงานถือหลักความชำนาญเฉพาะด้าน
-
-
กระบวนการทำงานในองค์การทั้งระบบมีผู้รับผิดชอบไม่มีการให้สิทธิพิเศษแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งทุกคนต้องทำตามกฎเกณฑ์ที่วางไว้ " ระบบราชการ "

ข้อเสียของ- มีองค์การปฏิบัติงานกระจายอยู่ทั่วประเทศซึ่งเป็นเครือข่ายที่กว้างขวางซับซ้อนจนไม่อาจจัดระบบควบคุมตรวจสอบดุลพินิจในการใช้อำนาจของข้าราชการทุกคนเป็นการเฉพาะรายได้
- ระเบียบข้อบังคับจำนวนมากนี้ได้สร้างความเคยชินกับข้าราชการว่าต้องเน้นความถูกต้องตามระเบียบมากกว่าประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
- มีมาตรฐานการจ้างงานเพียงมาตรฐานเดียวซึ่งทำให้ไม่สามารถจ่ายค่าตอบแทนได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับราคา
- เป็นระบบที่ยากที่จะทำลายได้การไม่กล้าเปลี่ยนแปลงนี้สืบเนื่องมาจากคนไม่กล้าทำลายกฎระเบียบที่มีอยู่เพราะอาจทำให้องค์กรแตกสลายหรือนำไปสู่การเล่นพรรคเล่นพวก
- มีแนวโน้มที่จะผูกขาดข้อมูลข่าวสารต่อต้านการเปลี่ยนแปลงและทำตัวเป็นเผด็จการ
วูดโรว์วิลสัน with คนที่ 28 ของสหรัฐอเมริกาเจ้าของรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ . ค . ศ .1919 บิดาแห่งรัฐประศาสนศาสตร์เจ้าของบทความอันเลื่องชื่อ " การบริหารงาน " เขียนไว้ในปีค . ศ .




1887
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: