ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน  การแต่งงาน เป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้า การแปล - ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน  การแต่งงาน เป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้า ไทย วิธีการพูด

ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน การแต่งง

ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน
การแต่งงาน เป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้ากันในการสมรสหรือสถาบันที่คล้ายกัน ประเพณีและจารีตประเพณีแตกต่างกันมากตามวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ประเทศ และชนชั้นทางสังคม พิธีการแต่งงานส่วนมากเกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนคำสาบานแต่งงานโดยคู่สมรส การมอบของขวัญ (ของถวาย แหวน สิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ เงิน) และการประกาศการแต่งงานสาธารณะโดยผู้มีอำนาจหรือผู้นำ คู่สมรสมักสวมชุดแต่งงานพิเศษ และมักตามด้วยงานเลี้ยงแต่งงาน (wedding reception)
แบบไท

ในการแต่งงานของไทยโดยทั่วไป จะมีลำดับขั้นตอนดังนี้
1.การสู่ขอ – ฝ่ายชายก็จะให้ญาติผู้ใหญ่ที่ตนให้ความเคารพ ไปสู่ขอผู้หญิงกับพ่อแม่ของฝ่ายหญิงการสู่ขอเบื้องต้นของประเพณีการแต่งงานของสังคมไทย และเป็นเรื่องที่ถือว่าเป็นสิริมงคลของชายหญิงที่จะเป็นสามีภริยากัน และเป็นการให้เกียรติแก่ฝ่ายหญิงด้วย การเป็นสามีภริยา โดยการสู่ขอแต่งงานกันตามประเพณีเป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมยกย่อง เพราะชอบด้วยระเบียบแบบแผนจารีตประเพณีที่ได้รับการพิจารณาจากสังคมแล้วว่าเป็นสิริมงคล
2.การหมั้น – หลังจากได้มีเจรจาสู่ขอเป็นที่ตกลงกันเรียบร้อยแล้ว บางครั้งทางผู้ใหญ่ต้องการให้มีการหมั้นกันสักระยะหนึ่งก่อน แล้วค่อยจัดงานแต่งภายหลัง เพื่อให้โอกาสทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายได้ศึกษาอุปนิสัยกันมากขึ้น ต้องมีการกำหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น รวมทั้งกำหนดสินสอดทองหมั้น หรือที่เรียกว่า " ขันหมากหมั้น " ตามธรรมเนียมการหมั้นนั้น เท่ากับเป็นการจอง หรือวางมัดจำไว้นั่นเอง หญิงที่ถูกหมั้นถือว่าได้ถูกจองไว้แล้ว จะไปรับจากชายอื่น หรือผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะยกให้ใครอื่นอีกไม่ได้จะลองมองกันให้ดีแล้ว
3.พิธีแต่งงาน – ตอนเช้าจะทำบุญตักบาตรเลี้ยงพระ รดน้ำสังข์เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ ที่นับถือได้เป็นสักขีพยานในการแต่งงาน จากนั้นก็มักจะมีการกินเลี้ยงกัน
4.ชุดวิวาห์ - ชุดที่ใส่ในพิธีแต่งงานโดยชุดดังกล่าวนั้นจะสวมใส่เฉพาะฝ่ายหญิงหรือสตรีผู้เป็นเจ้าสาวเรียกว่าชุดวิวาห์ ซึ่งมีหลากหลายสีตามชนชาติ และวัฒนธรรมของชาตินั้นๆ แต่สวนมากจะเป็นสี ขาว ครีม งาช้าง ชมพู แดง ทอง ล้วนแต่เป็นสีที่มงคลที่นำมาสวมใส่ไม่นิยมสวมใส่สีที่ไม่เป็นมงคล เช่น สีดำ สีม่วง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน การแต่งงานเป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้ากันในการสมรสหรือสถาบันที่คล้ายกันประเพณีและจารีตประเพณีแตกต่างกันมากตามวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาประเทศและชนชั้นทางสังคมพิธีการแต่งงานส่วนมากเกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนคำสาบานแต่งงานโดยคู่สมรสการมอบของขวัญ (ของถวายแหวนสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ดอกไม้เงิน) และการประกาศการแต่งงานสาธารณะโดยผู้มีอำนาจหรือผู้นำคู่สมรสมักสวมชุดแต่งงานพิเศษและมักตามด้วยงานเลี้ยงแต่งงาน (แต่ง)แบบไท ในการแต่งงานของไทยโดยทั่วไปจะมีลำดับขั้นตอนดังนี้1.การสู่ขอ – ฝ่ายชายก็จะให้ญาติผู้ใหญ่ที่ตนให้ความเคารพไปสู่ขอผู้หญิงกับพ่อแม่ของฝ่ายหญิงการสู่ขอเบื้องต้นของประเพณีการแต่งงานของสังคมไทยและเป็นเรื่องที่ถือว่าเป็นสิริมงคลของชายหญิงที่จะเป็นสามีภริยากันและเป็นการให้เกียรติแก่ฝ่ายหญิงด้วยการเป็นสามีภริยาโดยการสู่ขอแต่งงานกันตามประเพณีเป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมยกย่องเพราะชอบด้วยระเบียบแบบแผนจารีตประเพณีที่ได้รับการพิจารณาจากสังคมแล้วว่าเป็นสิริมงคล2.การหมั้น – หลังจากได้มีเจรจาสู่ขอเป็นที่ตกลงกันเรียบร้อยแล้วบางครั้งทางผู้ใหญ่ต้องการให้มีการหมั้นกันสักระยะหนึ่งก่อนแล้วค่อยจัดงานแต่งภายหลังเพื่อให้โอกาสทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายได้ศึกษาอุปนิสัยกันมากขึ้นต้องมีการกำหนดฤกษ์ยามในวันหมั้นรวมทั้งกำหนดสินสอดทองหมั้นหรือที่เรียกว่า "ขันหมากหมั้น" ตามธรรมเนียมการหมั้นนั้นเท่ากับเป็นการจองหรือวางมัดจำไว้นั่นเองหญิงที่ถูกหมั้นถือว่าได้ถูกจองไว้แล้วจะไปรับจากชายอื่นหรือผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะยกให้ใครอื่นอีกไม่ได้จะลองมองกันให้ดีแล้ว 3.พิธีแต่งงาน – ตอนเช้าจะทำบุญตักบาตรเลี้ยงพระรดน้ำสังข์เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ที่นับถือได้เป็นสักขีพยานในการแต่งงานจากนั้นก็มักจะมีการกินเลี้ยงกัน4.ชุดวิวาห์ - ชุดที่ใส่ในพิธีแต่งงานโดยชุดดังกล่าวนั้นจะสวมใส่เฉพาะฝ่ายหญิงหรือสตรีผู้เป็นเจ้าสาวเรียกว่าชุดวิวาห์ซึ่งมีหลากหลายสีตามชนชาติและวัฒนธรรมของชาตินั้น ๆ แต่สวนมากจะเป็นสีขาวครีมงาช้างชมพูแดงทองล้วนแต่เป็นสีที่มงคลที่นำมาสวมใส่ไม่นิยมสวมใส่สีที่ไม่เป็นมงคลเช่นสีดำสีม่วง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน
การแต่งงาน เป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้ากันในการสมรสหรือสถาบันที่คล้ายกัน ประเพณีและจารีตประเพณีแตกต่างกันมากตามวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ประเทศ และชนชั้นทางสังคม พิธีการแต่งงานส่วนมากเกี่ยวข้องกับการแลกเปลี่ยนคำสาบานแต่งงานโดยคู่สมรส การมอบของขวัญ (ของถวาย แหวน สิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ ดอกไม้ เงิน) และการประกาศการแต่งงานสาธารณะโดยผู้มีอำนาจหรือผู้นำ คู่สมรสมักสวมชุดแต่งงานพิเศษ และมักตามด้วยงานเลี้ยงแต่งงาน (wedding reception)
แบบไท

ในการแต่งงานของไทยโดยทั่วไป จะมีลำดับขั้นตอนดังนี้
1.การสู่ขอ – ฝ่ายชายก็จะให้ญาติผู้ใหญ่ที่ตนให้ความเคารพ ไปสู่ขอผู้หญิงกับพ่อแม่ของฝ่ายหญิงการสู่ขอเบื้องต้นของประเพณีการแต่งงานของสังคมไทย และเป็นเรื่องที่ถือว่าเป็นสิริมงคลของชายหญิงที่จะเป็นสามีภริยากัน และเป็นการให้เกียรติแก่ฝ่ายหญิงด้วย การเป็นสามีภริยา โดยการสู่ขอแต่งงานกันตามประเพณีเป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมยกย่อง เพราะชอบด้วยระเบียบแบบแผนจารีตประเพณีที่ได้รับการพิจารณาจากสังคมแล้วว่าเป็นสิริมงคล
2.การหมั้น – หลังจากได้มีเจรจาสู่ขอเป็นที่ตกลงกันเรียบร้อยแล้ว บางครั้งทางผู้ใหญ่ต้องการให้มีการหมั้นกันสักระยะหนึ่งก่อน แล้วค่อยจัดงานแต่งภายหลัง เพื่อให้โอกาสทั้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายได้ศึกษาอุปนิสัยกันมากขึ้น ต้องมีการกำหนดฤกษ์ยามในวันหมั้น รวมทั้งกำหนดสินสอดทองหมั้น หรือที่เรียกว่า " ขันหมากหมั้น " ตามธรรมเนียมการหมั้นนั้น เท่ากับเป็นการจอง หรือวางมัดจำไว้นั่นเอง หญิงที่ถูกหมั้นถือว่าได้ถูกจองไว้แล้ว จะไปรับจากชายอื่น หรือผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะยกให้ใครอื่นอีกไม่ได้จะลองมองกันให้ดีแล้ว
3.พิธีแต่งงาน – ตอนเช้าจะทำบุญตักบาตรเลี้ยงพระ รดน้ำสังข์เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ ที่นับถือได้เป็นสักขีพยานในการแต่งงาน จากนั้นก็มักจะมีการกินเลี้ยงกัน
4.ชุดวิวาห์ - ชุดที่ใส่ในพิธีแต่งงานโดยชุดดังกล่าวนั้นจะสวมใส่เฉพาะฝ่ายหญิงหรือสตรีผู้เป็นเจ้าสาวเรียกว่าชุดวิวาห์ ซึ่งมีหลากหลายสีตามชนชาติ และวัฒนธรรมของชาตินั้นๆ แต่สวนมากจะเป็นสี ขาว ครีม งาช้าง ชมพู แดง ทอง ล้วนแต่เป็นสีที่มงคลที่นำมาสวมใส่ไม่นิยมสวมใส่สีที่ไม่เป็นมงคล เช่น สีดำ สีม่วง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีของคนไทยการแต่งงาน
การแต่งงานเป็นพิธีการซึ่งบุคคลสองคนรวมเข้ากันในการสมรสหรือสถาบันที่คล้ายกันประเพณีและจารีตประเพณีแตกต่างกันมากตามวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ศาสนาประเทศและชนชั้นทางสังคมการมอบของขวัญ ( ของถวายแหวนสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ดอกไม้เงิน ) และการประกาศการแต่งงานสาธารณะโดยผู้มีอำนาจหรือผู้นำคู่สมรสมักสวมชุดแต่งงานพิเศษและมักตามด้วยงานเลี้ยงแต่งงาน ( งานแต่งงาน )
แบบไท

ในการแต่งงานของไทยโดยทั่วไปจะมีลำดับขั้นตอนดังนี้
1การสู่ขอ–ฝ่ายชายก็จะให้ญาติผู้ใหญ่ที่ตนให้ความเคารพไปสู่ขอผู้หญิงกับพ่อแม่ของฝ่ายหญิงการสู่ขอเบื้องต้นของประเพณีการแต่งงานของสังคมไทยและเป็นการให้เกียรติแก่ฝ่ายหญิงด้วยการเป็นสามีภริยาโดยการสู่ขอแต่งงานกันตามประเพณีเป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมยกย่อง2 .การหมั้น–หลังจากได้มีเจรจาสู่ขอเป็นที่ตกลงกันเรียบร้อยแล้วบางครั้งทางผู้ใหญ่ต้องการให้มีการหมั้นกันสักระยะหนึ่งก่อนแล้วค่อยจัดงานแต่งภายหลังต้องมีการกำหนดฤกษ์ยามในวันหมั้นรวมทั้งกำหนดสินสอดทองหมั้นหรือที่เรียกว่า " ขันหมากหมั้น " ตามธรรมเนียมการหมั้นนั้นเท่ากับเป็นการจองหรือวางมัดจำไว้นั่นเองหญิงที่ถูกหมั้นถือว่าได้ถูกจองไว้แล้วหรือผู้ใหญ่ฝ่ายหญิงจะยกให้ใครอื่นอีกไม่ได้จะลองมองกันให้ดีแล้ว
3 . พิธีแต่งงาน–ตอนเช้าจะทำบุญตักบาตรเลี้ยงพระรดน้ำสังข์เพื่อให้ญาติผู้ใหญ่ที่นับถือได้เป็นสักขีพยานในการแต่งงานจากนั้นก็มักจะมีการกินเลี้ยงกัน
4ชุดวิวาห์ - ชุดที่ใส่ในพิธีแต่งงานโดยชุดดังกล่าวนั้นจะสวมใส่เฉพาะฝ่ายหญิงหรือสตรีผู้เป็นเจ้าสาวเรียกว่าชุดวิวาห์ซึ่งมีหลากหลายสีตามชนชาติและวัฒนธรรมของชาตินั้นๆแต่สวนมากจะเป็นสีขาวครีมงาช้างชมพูทองล้วนแต่เป็นสีที่มงคลที่นำมาสวมใส่ไม่นิยมสวมใส่สีที่ไม่เป็นมงคลเช่นสีดำสีม่วง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: