จุดเด่น จุดด้อยของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ ประเทศไทย จุดแข็ง - เป็นฐานการผล การแปล - จุดเด่น จุดด้อยของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ ประเทศไทย จุดแข็ง - เป็นฐานการผล ไทย วิธีการพูด

จุดเด่น จุดด้อยของเศรษฐกิจแต่ละประเ

จุดเด่น จุดด้อยของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ
ประเทศไทย
จุดแข็ง
- เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการรายใหญ่ของโลก
- ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่างๆ
- สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง
- ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง
- แรงงานจำนวนมาก
จุดอ่อน
- แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ
- เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง
ประเด็นที่น่าสนใจ
- ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้าน อาทิ ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และศูนย์กลางการท่องเที่ยว
- ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจั
ประเทศบรูไน
จุดแข็ง
- รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียน และอันดับ 26 ของโลก
- การเมืองค่อนข้างมั่นคง
- เป็นผู้ส่งออกน้ำมัน และมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียน
จุดอ่อน
- ตลาดขนาดเล็ก ประชากรประมาณ 4 แสนคน
- ขาดแคลนแรงงาน
ประเด็นที่น่าสนใจ
- มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิดกับสิงคโปร์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย
- การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพาสิงคโปร์เป็นหลัก
- ให้ความสำคัญกับความมั่นคงทางอาหารค่อนข้างมาก


ประเทศกัมพูชา
จุดแข็ง
- มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำ ป่าไม้ และแร่ชนิดต่างๆ
- ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD/day)
จุดอ่อน
- ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
- ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำ ไฟฟ้า และการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง
- ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ
ประเด็นที่น่าสนใจ
- ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้
ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
จุดแข็ง
- มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ
- การเมืองมีเสถียรภาพ
- ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USD/day)
จุดอ่อน
- ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร
- พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขา การคมนาคมไม่สะดวก ไม่มีทางออกสู่ทะเล
ประเด็นที่น่าสนใจ
- การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างพื้นฐาน พลังงานน้ำ และเหมืองแร่
ประเทศมาเลเซีย
จุดแข็ง
- รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน
- มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก
- ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร
- แรงงานมีทักษะ
จุดอ่อน
- จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะระดับล่าง
ประเด็นที่น่าสนใจ
- ตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว” ในปี 2563
- ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย
- มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
จุดเด่นจุดด้อยของเศรษฐกิจแต่ละประเทศ ประเทศไทย จุดแข็ง -เป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรหลายรายการรายใหญ่ของโลก -ที่ตั้งเอื้อต่อการเป็นศูนย์กลางโครงข่ายเชื่อมโยงคมนาคมด้านต่าง ๆ -สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง -ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง -แรงงานจำนวนมาก จุดอ่อน -แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ -เทคโนโลยีการผลิตส่วนใหญ่ยังเป็นขั้นกลาง ประเด็นที่น่าสนใจ -ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางอาเซียนในหลายด้านอาทิศูนย์กลางโลจิสติกส์และศูนย์กลางการท่องเที่ยว -ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ AEC ปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% สะท้อนการเตรียมพร้อมอย่างจริงจั ประเทศบรูไน จุดแข็ง -รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 2 ของอาเซียนและอันดับ 26 ของโลก -การเมืองค่อนข้างมั่นคง -เป็นผู้ส่งออกน้ำมันและมีปริมาณสำรองน้ำมันอันดับ 4 ของอาเซียน จุดอ่อน -ตลาดขนาดเล็กประชากรประมาณ 4 แสนคน -ขาดแคลนแรงงาน ประเด็นที่น่าสนใจ -มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจใกล้ชิดกับสิงคโปร์มาเลเซียและอินโดนีเซีย -การขนส่งสินค้าระหว่างประเทศพึ่งพาสิงคโปร์เป็นหลัก -ให้ความสำคัญกับความมั่นคงทางอาหารค่อนข้างมาก ประเทศกัมพูชา จุดแข็ง -มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะน้ำป่าไม้และแร่ชนิดต่าง ๆ -ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD ต่อวัน) จุดอ่อน -ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร -ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำไฟฟ้าและการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง -ขาดแคลนแรงงานมีทักษะ ประเด็นที่น่าสนใจ -ประเด็นขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชาอาจบั่นทอนโอกาสการขยายการค้า-การลงทุนระหว่างกันในอนาคตได้ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จุดแข็ง -มีทรัพยากรธรรมชาติหลากหลายและอุดมสมบูรณ์โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่าง ๆ -การเมืองมีเสถียรภาพ -ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 USD ต่อวัน) จุดอ่อน -ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานยังไม่พัฒนาเท่าที่ควร -พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูงและภูเขาการคมนาคมไม่สะดวกไม่มีทางออกสู่ทะเล ประเด็นที่น่าสนใจ -การลงทุนส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มโครงสร้างพื้นฐานพลังงานน้ำและเหมืองแร่ ประเทศมาเลเซีย จุดแข็ง -รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซียน -มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 ของเอเชียแปซิฟิกและก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 -ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร -แรงงานมีทักษะ จุดอ่อน -จำนวนประชากรค่อนข้างน้อยทำให้ขาดแคลนแรงงานโดยเฉพาะระดับล่าง ประเด็นที่น่าสนใจ -ตั้งเป้าหมายเป็น "ประเทศพัฒนาแล้ว" ในปี 2563 -ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย -มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
จุดเด่น สาธารณูปโภคพื้นฐานทั่วถึง- ระบบธนาคารค่อนข้างเข้มแข็ง- จำนวนมากแรงงานจุดอ่อน- แรงงานส่วนใหญ่ยังขาดทักษะ- อาทิศูนย์กลางโลจิสติกส์และ ศูนย์กลางการท่องเที่ยว - ดำเนินงานตามแผนปรับตัวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนปี 53-54 ได้ 64% สูงกว่าเกณฑ์เฉลี่ยของอาเซียนที่ 53% 2 ของอาเซียนและอันดับที่ 26 ของโลก- การเมืองค่อนข้างมั่นคง- เป็นผู้ส่งออกน้ำมันและมีปริมาณ สำรองน้ำมันอันดับ 4 อาเซียนของจุดอ่อน- ตลาดขนาดเล็กประชากรประมาณ 4 แสนคน- แรงงานขาดแคลนประเด็นที่น่าสนใจ- มาเลเซียและอินโดนีเซีย- โดยเฉพาะน้ำป่าไม้และแร่ชนิด ต่างๆ - ค่าจ้างแรงงานต่ำสุดในอาเซียน (1.6 USD / วัน) จุดอ่อน- ต้นทุนสาธารณูปโภค (น้ำไฟฟ้าและการสื่อสาร) ค่อนข้างสูง- โดยเฉพาะน้ำและแร่ชนิดต่างๆ- การเมืองมีเสถียรภาพ- ค่าจ้างแรงงานค่อนข้างต่ำ (2.06 เหรียญสหรัฐ / วัน) จุดอ่อน- การคมนาคมไม่สะดวก คุณน้ำและพลังงานเหมืองแร่ออกประเทศมาเลเซียจุดแข็ง- 3 ของอาเซียน- มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก- ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร- มีทักษะแรงงานจุดอ่อน- จำนวนประชากรค่อนข้างน้อยทำให้ขาดแคลนแรงงาน ตั้งเป้าหมายเป็น "ประเทศพัฒนาแล้ว" ในปี 2563 -



























































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: