โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ก่อตั้งขึ้ การแปล - โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ก่อตั้งขึ้ ไทย วิธีการพูด

โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน)

โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริ ก่อตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2531 บนพื้นที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 93,515 ไร่ ให้ประโยชน์แก่ชาวบ้าน 29 หมู่บ้าน ประมาณ 11,000 คน ประกอบด้วยชนเผ่า 6 เผ่า ในอดีต ชาวบ้านบนดอยตุงไม่มีสัญชาติ อยู่ในโลกแห่งการเอาตัวรอดและความยากจนแร้นแค้น โดยที่ไม่มีโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานและการสนับสนุนใดๆ จากภาครัฐ ทั้งยังมีกลุ่มติดอาวุธครอบครองพื้นที่บางส่วนทำให้เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่รัฐ ดอยตุงซึ่งตั้งอยู่ใจกลางสามเหลี่ยมทองคำจึงเป็นแหล่งปลูกพืชเสพติด เผชิญปัญหาสังคมที่ซับซ้อน และมีธรรมชาติที่ถูกทำลายจากการแผ้วถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนดอยตุงเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนมกราคม พ.ศ. 2530 และทรงเล็งเห็นว่ารากเหง้าของปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมบนดอยตุง คือ ความยากจนและการขาดโอกาสในการดำรงชีวิต จึงทรงมีพระราชดำริที่จะนำผืนป่ากลับคืนสู่ดอยตุง และฟื้นฟูดอยตุงทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม นับเป็นการให้โอกาสคนทุกหมู่เหล่าไม่ว่าเชื้อชาติ ศาสนา หรือสัญชาติใด ทำให้ชนกลุ่มน้อยต่างๆ มีความหวังอีกครั้ง พระราชปรัชญาในการทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี คือ การพัฒนาคุณภาพชีวิต และส่งเสริมให้คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างมีสำนึกและพึ่งพาอาศัยกัน

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงมีพระราชดำริให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถเลี้ยงตนเองได้ เพราะหากพึ่งพางบประมาณจากรัฐบาล จะไม่เป็นการยุติธรรมกับประชาชนชาวไทยที่ไม่ได้อาศัยอยู่บนดอยตุง ความมั่นคงทางการเงินที่ควบคู่กับความก้าวหน้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อมจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ จึงได้สร้างแบรนด์ดอยตุงขึ้นมาเพื่อเป็นช่องทางหลักในการหารายได้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ แบรนด์ดอยตุงประกอบด้วยหน่วยธุรกิจ 4 หน่วย ได้แก่ อาหาร หัตกรรม การเกษตร และการท่องเที่ยว โครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถเลี้ยงตนเองได้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 เป็นต้นมา

โครงการพัฒนาดอยตุงฯ วางกรอบการดำเนินงานไว้ 30 ปี และแบ่งแผนงานออกเป็น 3 ระยะ

ระยะที่ 1: (พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2536) ปัญหาด้านสาธารณสุขได้รับการตอบสนองอย่างเร่งด่วน โดยการกำหนดมาตรการป้องกันโรค ให้ความรู้ด้านสาธารณสุข นอกจากนี้ ยังมีการฝึกอบรมการรักษาและป้องกันโรค และจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานไปพร้อมๆ กัน

ระยะที่ 2: (พ.ศ. 2537 – พ.ศ. 2545) การสร้างรายได้เป็นประเด็นสำคัญในช่วงระยะที่ 2 โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ส่งเสริมการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ด้วยการหาวิธีเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

ระยะที่ 3: (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2560) ระยะนี้ให้ความสำคัญกับการสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยธุรกิจของแบรนด์ดอยตุง เพื่อนำรายได้กลับคืนสู่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ และชุมชนดอยตุงให้เกิดความยั่งยืนต่อไป นอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมในการสานต่อการพัฒนาด้วยตนเอง หลังจากปีพ.ศ. 2560 เมื่อโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ถอนตัวออกไป เนื่องจากเป้าหมายสูงสุดของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ คือการมอบการบริหารจัดการการพัฒนาและธุรกิจให้แก่ผู้นำท้องถิ่นรุ่นใหม่ได้

เมื่อปี พ.ศ. 2545 สำนักงานสหประชาชาติว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรม (UNODC) ได้ยกย่องให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เป็นต้นแบบการพัฒนาทางเลือกในการดำรงชีวิตที่ยั่งยืน และในปี พ.ศ. 2552 ม.ร.ว. ดิศนัดดา ดิศกุล ผู้อำนวยการโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ได้รับเลือกโดยมูลนิธิ Schwab ให้เป็นหนึ่งในผู้ประกอบการทางสังคมดีเด่นสำหรับภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อแสดงถึงความพยายามขององค์กรในการแก้ปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่ไปกับการฟื้นฟูธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนในพื้นที่ดอยตุงบรรลุเป้าหมายในการเป็นพลเมืองที่มีสำนึกดีต่อสังคม ประกอบอาชีพสุจริต และมีคุณภาพชีวิตที่ดี โครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงได้ร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการ ในการปรับหลักสูตรการศึกษาในโรงเรียน ที่ไม่ได้มุ่งหวังเพียงให้เยาวชนอ่าน เขียน และคำนวณได้ดีเท่านั้น แต่ยังเน้นการปลูกฝังคุณค่าที่สำคัญ เช่น วินัยและความรับผิดชอบ ความคิดสร้างสรรค์ การริเริ่มสิ่งใหม่ๆ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เยาวชนในการรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมศักยภาพให้เขาสามารถช่วยตัวเองได้ มีการนำแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล เช่น มอนเตสซอร์รี่ (Montessori) การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (Project-based learning) และการฝึกอบรมวิชาชีพจากการปฏิบัติจริง มาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทท้องถิ่น และการดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมของโครงการฯ นอกจากนี้ โครงการพัฒนาดอยตุงฯ มีการให้ทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนในท้องถิ่น เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา และเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในอนาคต คนหนุ่มสาวในพื้นที่ที่ทำงานกับโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ยังได้รับการสนับสนุนและปลูกฝังให้เข้าใจคุณค่าของการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องด้วย

ในปี พ.ศ. 2560 หรือ 30 ปีหลังจากเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุงฯ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ มีแผนการลดบทบาทเพื่อเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสังคมและกิจกรรมด้านงานพัฒนาต่างๆ ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ให้กับผู้นำรุ่นใหม่ในพื้นที่ ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นตัวอย่างของโครงการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริก่อตั้งขึ้นเมื่อพ.ศ. 2531 บนพื้นที่ดอยตุงจังหวัดเชียงรายครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 93,515 ไร่ให้ประโยชน์แก่ชาวบ้าน 29 หมู่บ้านประมาณ 11,000 คนประกอบด้วยชนเผ่า 6 เผ่าในอดีตชาวบ้านบนดอยตุงไม่มีสัญชาติอยู่ในโลกแห่งการเอาตัวรอดและความยากจนแร้นแค้นโดยที่ไม่มีโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานและการสนับสนุนใด ๆ จากภาครัฐทั้งยังมีกลุ่มติดอาวุธครอบครองพื้นที่บางส่วนทำให้เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่รัฐดอยตุงซึ่งตั้งอยู่ใจกลางสามเหลี่ยมทองคำจึงเป็นแหล่งปลูกพืชเสพติดเผชิญปัญหาสังคมที่ซับซ้อนและมีธรรมชาติที่ถูกทำลายจากการแผ้วถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนดอยตุงเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนมกราคมพ.ศ. 2530 และทรงเล็งเห็นว่ารากเหง้าของปัญหาเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมบนดอยตุงคือความยากจนและการขาดโอกาสในการดำรงชีวิตจึงทรงมีพระราชดำริที่จะนำผืนป่ากลับคืนสู่ดอยตุงและฟื้นฟูดอยตุงทั้งทางเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมนับเป็นการให้โอกาสคนทุกหมู่เหล่าไม่ว่าเชื้อชาติศาสนาหรือสัญชาติใดทำให้ชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ มีความหวังอีกครั้งพระราชปรัชญาในการทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมให้คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างมีสำนึกและพึ่งพาอาศัยกัน สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงมีพระราชดำริให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถเลี้ยงตนเองได้เพราะหากพึ่งพางบประมาณจากรัฐบาลจะไม่เป็นการยุติธรรมกับประชาชนชาวไทยที่ไม่ได้อาศัยอยู่บนดอยตุงความมั่นคงทางการเงินที่ควบคู่กับความก้าวหน้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อมจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ จึงได้สร้างแบรนด์ดอยตุงขึ้นมาเพื่อเป็นช่องทางหลักในการหารายได้สนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ แบรนด์ดอยตุงประกอบด้วยหน่วยธุรกิจ 4 หน่วยได้แก่อาหารหัตกรรมการเกษตรและการท่องเที่ยวโครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถเลี้ยงตนเองได้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 เป็นต้นมา โครงการพัฒนาดอยตุงฯ วางกรอบการดำเนินงานไว้ 30 ปีและแบ่งแผนงานออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1: (พ.ศ. 2531 – พ.ศ. 2536) ปัญหาด้านสาธารณสุขได้รับการตอบสนองอย่างเร่งด่วนโดยการกำหนดมาตรการป้องกันโรคให้ความรู้ด้านสาธารณสุขนอกจากนี้ยังมีการฝึกอบรมการรักษาและป้องกันโรคและจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานไปพร้อม ๆ กัน ระยะที่ 2: (พ.ศ. 2537 – พ.ศ. 2545) การสร้างรายได้เป็นประเด็นสำคัญในช่วงระยะที่ 2 โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ส่งเสริมการพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยการหาวิธีเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 3: (พ.ศ. 2546 – พ.ศ. 2560) ระยะนี้ให้ความสำคัญกับการสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยธุรกิจของแบรนด์ดอยตุงเพื่อนำรายได้กลับคืนสู่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ และชุมชนดอยตุงให้เกิดความยั่งยืนต่อไปนอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของคนในชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมในการสานต่อการพัฒนาด้วยตนเองหลังจากปีพ.ศ 2560 เมื่อโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ถอนตัวออกไปเนื่องจากเป้าหมายสูงสุดของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ คือการมอบการบริหารจัดการการพัฒนาและธุรกิจให้แก่ผู้นำท้องถิ่นรุ่นใหม่ได้ เมื่อปีพ.ศ. 2545 (UNODC) สำนักงานสหประชาชาติว่าด้วยยาเสพติดและอาชญากรรมได้ยกย่องให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เป็นต้นแบบการพัฒนาทางเลือกในการดำรงชีวิตที่ยั่งยืนและในปีพ.ศ. 2552 ม.ร.ว. ดิศนัดดาดิศกุลผู้อำนวยการโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ได้รับเลือกโดยมูลนิธิ Schwab ให้เป็นหนึ่งในผู้ประกอบการทางสังคมดีเด่นสำหรับภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อแสดงถึงความพยายามขององค์กรในการแก้ปัญหาสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่ไปกับการฟื้นฟูธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนในพื้นที่ดอยตุงบรรลุเป้าหมายในการเป็นพลเมืองที่มีสำนึกดีต่อสังคมประกอบอาชีพสุจริตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึงได้ร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการในการปรับหลักสูตรการศึกษาในโรงเรียนที่ไม่ได้มุ่งหวังเพียงให้เยาวชนอ่านเขียนและคำนวณได้ดีเท่านั้นแต่ยังเน้นการปลูกฝังคุณค่าที่สำคัญเช่นวินัยและความรับผิดชอบความคิดสร้างสรรค์การริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ และการเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่เยาวชนในการรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและส่งเสริมศักยภาพให้เขาสามารถช่วยตัวเองได้มีการนำแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลเช่นมอนเตสซอร์รี่ (มอนเตสซอรี่) การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (เรียน) และการฝึกอบรมวิชาชีพจากการปฏิบัติจริงมาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทท้องถิ่นและการดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมของโครงการฯ นอกจากนี้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ มีการให้ทุนการศึกษาสำหรับนักเรียนในท้องถิ่นเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในอนาคตคนหนุ่มสาวในพื้นที่ที่ทำงานกับโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ยังได้รับการสนับสนุนและปลูกฝังให้เข้าใจคุณค่าของการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องด้วย ในปีพ.ศ. 2560 หรือ 30 ปีหลังจากเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุงฯ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ มีแผนการลดบทบาทเพื่อเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสังคมและกิจกรรมด้านงานพัฒนาต่าง ๆ ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ให้กับผู้นำรุ่นใหม่ในพื้นที่ซึ่งเรียกได้ว่าเป็นตัวอย่างของโครงการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการพัฒนาดอยตุง (พื้นที่ทรงงาน) อันเนื่องมาจากพระราชดำริก่อตั้งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2531 บนพื้นที่ดอยตุงจังหวัดเชียงรายครอบคลุมพื้นที่ ประมาณ 93,515 ไร่ให้ประโยชน์แก่ชาวบ้าน 29 หมู่บ้านประมาณ 11,000 คนประกอบด้วยชนเผ่า 6 เผ่าในอดีตชาวบ้านบนดอยตุง ไม่มีสัญชาติอยู่ในโลกแห่งการเอาตัวรอดและความยากจนแร้นแค้นโดยที่ ไม่มีโครงสร้างสาธารณูปโภคพื้นฐานและการสนับสนุนใด ๆ จากภาครัฐทั้งยังมีกลุ่มติดอาวุธครอบครองพื้นที่บางส่วนทำให้เป็นอุปสรรคต่อการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่รัฐดอยตุงซึ่งตั้งอยู่ใจกลางสามเหลี่ยมทองคำจึงเป็นแหล่งปลูกพืชเสพติดเผชิญปัญหาสังคม และซับซ้อนที่มีธรรมชาติที่ถูกทำลายจากเนชั่หัวเรื่อง: การแผ้วถางเพื่อทำไร่เลื่อนลอย

สมเด็จที่คุณพระศรีหนังสือนคคุณรินทราบรมราชชนนีได้เสด็จพระราชดำเนินเยือนดอยตุงเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนระเบียนมกราคม พ.ศ. 2530 และทรงเล็งเห็นว่ารากเหง้าของปัญหา เศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมบนดอยตุงคือความยากจนและการขาดโอกาสในการดำรงชีวิตจึงทรงมีพระราชดำริที่จะนำผืนป่ากลับคืนสู่ดอยตุงและฟื้นฟูดอยตุงทั้งทางเศรษฐกิจสังคมและ สิ่งแวดล้อมนับเป็นการให้โอกาสคนทุกหมู่ เหล่าไม่ว่าเชื้อชาติศาสนาหรือสัญชาติใดทำให้ชนกลุ่มน้อยต่างๆมีความหวังอีกครั้งพระราชปรัชญาในการทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีคือการพัฒนาคุณภาพชีวิตและ ส่งเสริมให้ของคุณคนขณะนี้ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างมีสำนึกและพึ่งพาอาศัยกัน

สมเด็จที่คุณพระศรีหนังสือนคคุณรินทราบรมราชชนนีคุณทรงมีที่คุณพระราชดำริให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ ด้านเลี้ยงตนเองได้เพราะหากพึ่งพางบประมาณจากเนชั่รัฐบาลจะไม่เป็นการยุติธรรมกับ ประชาชนชาวไทยที่ไม่ได้อาศัยอยู่ บนดอยตุงความมั่นคงทางการเงินที่ควบคู่กับความก้าวหน้าทางสังคมและสิ่งแวดล้อมจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนมูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ จึงได้สร้างแบรนด์ดอยตุงขึ้นมาเพื่อเป็นช่องทางหลัก ในการหารายได้สนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ แบรนด์ดอยตุงประกอบด้วยหน่วยธุรกิจ 4 หน่วย ได้แก่ อาหารหัตกรรมการเกษตรและการ ท่องเที่ยวโครงการพัฒนาดอยตุงฯ สามารถเลี้ยงตนเองได้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543 มาเป็นต้น

โครงการพัฒนาดอยตุงฯ วางกรอบหัวเรื่อง: การดำเนินงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายไว้ 30 ปีและแบ่งแผนงานออกเป็น 3 ระยะ

ระยะที่ 1: (2531 พ.ศ. - พ.ศ. 2536) ปัญหาด้านสาธารณสุขได้รับการตอบสนอง อย่างเร่ง หัวเรื่อง: การโดยด่วนกำหนดมาตรการป้องกันโรคให้ความสามารถรู้ด้านสาธารณสุขนอกจากนี้ยังมีหัวเรื่อง: การฝึกอบรมหัวเรื่อง: การรักษาและป้องกันโรคและจัดเตรียมโครงสร้างพื้นฐานไปพร้อม ๆ กัน

ระยะที่ 2 ( พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2545) การสร้างรายได้เป็นประเด็นสำคัญใน ช่วงระยะที่ 2 พัฒนาดอยโครงการตุงฯ ส่งเสริมหัวเรื่อง: การพัฒนาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตด้วยหัวเรื่อง: การหาวิธีเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์

ระยะที่ 3 ( พ.ศ. 2546 - พ.ศ. 2560) ระยะ นี้ให้ความสำคัญกับการสร้างความ แข็งแกร่งให้กับหน่วยธุรกิจของแบรนด์ดอยตุงเพื่อนำรายได้กลับคืนสู่โครงการพัฒนาดอยตุงฯ และชุมชนดอยตุงให้เกิดความยั่งยืนต่อไปนอกจากนี้ยังมีการส่งเสริมการศึกษาและพัฒนาศักยภาพของ คนในชุมชนเพื่อเตรียมความพร้อมใน การสานต่อการพัฒนาด้วยตนเองหลังจากปีพ . ศ 2560 โครงการพัฒนาเมื่อดอยตุงฯ ถอนคุณตัวออกไปเนื่องจากเป้าหมายสูงสุดของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ คือหัวเรื่อง: การมอบหัวเรื่อง: การบริหารจัดการหัวเรื่อง: การพัฒนาและธุรกิจให้แก่ผู้นำท้องถิ่นรุ่นใหม่ได้

เมื่อปี พ.ศ. 2545 สำนักงานสหประชาชาติว่าด้วยยาเสพติดและ อาชญากรรม (UNODC) ได้ยกย่องให้โครงการพัฒนาดอยตุงฯ เป็นต้นแบบการพัฒนาทางเลือกในการดำรงชีวิตที่ยั่งยืนและในปี พ.ศ. 2552 ม.ร.ว. ดิศนัดดาดิศกุลผู้อำนวย การโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ได้รับเลือกโดยมูลนิธิ Schwab ให้เป็นหนึ่งในผู้ประกอบการทาง สังคมดีเด่นสำหรับภาคพื้นเอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อแสดงถึงความพยายามขององค์กรในการแก้ ปฐมวัยสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่ไปกับหัวเรื่อง: การฟื้นฟูธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

เพื่อสนับสนุนให้เยาวชนในห้างหุ้นส่วนจำกัดพื้นที่ดอยตุงบรรลุเป้าหมายในห้างหุ้นส่วนจำกัดหัวเรื่อง: การเป็นพลเมืองที่มีสำนึกดีต่อสังคมประกอบอาชีพสุจริตและมีคุณภาพชีวิตที่ดีโครงการพัฒนาดอยตุงฯ จึง ได้ร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการในการปรับ หลักสูตรการศึกษาในโรงเรียนที่ไม่ได้มุ่งหวังเพียงให้เยาวชนอ่านเขียนและคำนวณได้ดีเท่านั้น แต่ยังเน้นการปลูกฝังคุณค่าที่สำคัญเช่นวินัยและความรับผิดชอบความคิดสร้างสรรค์การริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ และ การเรียนรู้ด้วยตนเองเพื่อเตรียมความ พร้อมให้แก่เยาวชนในการรับมือกับโลกที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและส่งเสริมศักยภาพให้เขาสามารถช่วยตัวเองได้มีการนำแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ได้รับการยอมรับในระดับสากลเช่นมอน เตสซอร์รี่ (Montessori) การจัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน (การเรียนรู้ด้วยโครงงาน) และการฝึกอบรมวิชาชีพจากการปฏิบัติ จริงมาประยุกต์ให้เข้ากับบริบทท้องถิ่นและการดำเนินธุรกิจเพื่อสังคมของโครงการฯ นอกจากนี้โครงการพัฒนา ดอยตุงฯ มีการให้ทุนการ ศึกษาสำหรับนักเรียนในท้องถิ่นเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษาและเตรียมความพร้อมสำหรับการทำงานในอนาคตคนหนุ่มสาวในพื้นที่ที่ทำงานกับโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ยังได้รับการสนับสนุนและปลูกฝังให้เข้าใจคุณค่า หัวเรื่อง: การพัฒนาของตนเองอย่างต่อเนื่องด้วย

ในห้างหุ้นส่วนจำกัดปี พ.ศ. 2560 หรือ 30 ปีหลังจากเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุงฯ มูลนิธิแม่ฟ้าหลวงฯ มีแผนการลดบทบาทเพื่อเตรียมความพร้อมในการถ่ายโอนการบริหารจัดการธุรกิจเพื่อสังคมและกิจกรรมด้านงานพัฒนาต่างๆของโครงการพัฒนาดอยตุงฯ ให้กับผู้นำรุ่น ใหม่ในพื้นที่ซึ่งเรียกได้ว่าเป็น ตัวอย่างของโครงการพัฒนาที่ยั่งยืนอย่างแท้จริง

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: