บทที่ 1บทนำ1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย  ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  การแปล - บทที่ 1บทนำ1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย  ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน  ไทย วิธีการพูด

บทที่ 1บทนำ1.1 ที่มาและความสำคัญของ

บทที่ 1
บทนำ

1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ถนนมีความสำคัญหลายด้าน เช่น ด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศ ถนนนำมาซึ่งความเจริญทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของชาติ เพื่อสาธารณะประโยชน์ในการเดินทาง การขนส่งสินค้า ฯลฯ เราควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับถนนในชนบทหรือท้องถิ่นที่ห่างไกลให้มากขึ้นเพื่อเป็นการขยายความเจริญออกไปตามตัวเมืองต่างๆ ในทุกภูมิภาคของประเทศ การสร้างถนนนั้นนำมาซึ่งผลิตผล ผลิตภัณฑ์ต่างๆ จากชนบทเข้าสู่เมือง หรือที่เรียกว่า มีถนนที่ไหน ที่นั่นย่อมมีความเจริญ บ้านเมืองใดไม่มีถนน ความเจริญก็ไม่สามารถเข้าไปสู่ชุมชนต่างๆได้ อย่างเช่นในปัจจุบัน ที่ความเจริญมักจะต้องใช้ถนนในการนำพาความเจริญต่างๆเข้าไปสู่ชุมชนในชนบทที่ห่างไกลจากตัวเมือง
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ประเทศต้องการความเจริญทั้ง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม จึงมีความจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการก่อสร้างถนนเป็นอย่างยิ่ง ดังเช่น การสร้างถนนสายแรกของประเทศไทย ถนนสายแรกของไทยคือ ถนนเจริญกรุง เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อ 150 ปีก่อน ทำให้มีชาวต่างชาติย้ายเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯเป็นจำนวนมากขึ้น ทำให้เกิดการค้าขายและรุ่งเรืองมากขึ้น นอกจากนี้พวกกงสุลได้รวมตัวกันลงชื่อขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “ชาวยุโรปเคยขี่รถขี่ม้า เที่ยวตากอากาศ ได้ความสบายไม่มีไข้ เข้ามาอยู่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถขี่ม้าไปเที่ยวพากันเจ็บไข้เนืองๆ" ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารผ่านสำเพ็ง (ย่านการค้าของชาวจีน) ผ่านบางรัก (ย่านการค้าและที่อยู่อาศัยของชาวตะวันตก) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่ พระบรมมหาราชวัง อาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิต
ถนนสายแรกของไทยใช้ระยะเวลาในการสร้างนานถึง 3 ปี เมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้น ยังไม่ได้พระราชทานนาม จึงเรียกกันทั่วไปว่า ถนนใหม่ และชาวยุโรปเรียกว่า นิวโรด (New Road) ชาวจีนเรียก ซินพะโล้ว แปลว่าถนนตัดใหม่ ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง เช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนคร ที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกัน
ถนนเจริญกรุง แบ่งเป็น 2 ตอน คือ ถนนเจริญกรุงในเขตกำแพงเมือง เริ่มจากบริเวณหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามจนถึงสะพานดำรงสถิตย์ ต่อกับถนนเจริญกรุงตอนนอกกำแพงเมืองจนถึงตำบลดาวคะนอง
ดังนั้น จากที่กล่าวมาข้างต้น ถนนมีความสำคัญเป็นอย่างมาก และถนนเจริญกรุงได้นำมาซึ่งความเจริญและความทันสมัยต่างๆสู่บ้านเมือง พวกเราจึงได้จัดทำโครงงาน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับถนนเจริญกรุง เพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของถนนเจริญกรุง การสร้างถนนเจริญกรุง ความเจริญที่เข้ามาหลังจากสร้างถนน รวมไปถึงความร่วมมือของบุคคลต่างๆ และเพื่อให้เข้าใจถึงประสงค์ของการสร้างถนน

1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย
1. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ของถนนเจริญกรุง
2. เพื่อศึกษาขั้นตอน และรูปแบบการสร้างถนนเจริญกรุง
3. เพื่อพัฒนาทักษะการพูด ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

1.3 ขอบเขตการศึกษา
1. ถนนเจริญกรุง(ที่ตั้ง)
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้จัดทำโครงงานคาดว่าหลังจากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่องถนนเจริญกรุง จะได้รับความรู้เรื่องประวัติความเป็นมาของถนนเจริญกรุง วิธีในการสร้างถนนเจริญกรุง จุดประสงค์ของการสร้างถนนเจริญกรุงและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถอธิบายและถ่ายทอดความรู้เหล่านี้ให้กับผู้อื่นได้

1.5 นิยามศัพท์
1. ซินพะโล้ว คือ ถนนตัดใหม่, ถนนเจริญกรุง
2. ดินอัด คือ การถมดินไปทีละชั้น มีความหนาชั้นละประมาณ 20 - 50 ซม. ขึ้นอยู่กับลักษณะดิน และการกำหนด ของผู้ออกแบบ แล้วก็บดอัดให้แน่นทีละชั้น หมดไปชั้นหนึ่งค่อยถมดินต่อ แล้วก็บดอัดอีก ทำแบบนี้จนกว่า จะได้ระดับตามที่เรา ต้องการ การถมแบบนี้จะได้ดินที่อัดแน่นดี มีการทรุดตัวน้อย
3. ชาวต่างชาติ คือ ชาวต่างประเทศที่มีถิ่นฐานอยู่ในอีกประเทศหนึ่ง
4. ถนนแบบตะวันตก คือ ถนนที่ใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบตะวันตก
5. เจริญกรุง คือ ความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง







0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 1บทนำ1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันถนนมีความสำคัญหลายด้านเช่นด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศถนนนำมาซึ่งความเจริญทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของชาติเพื่อสาธารณะประโยชน์ในการเดินทางการขนส่งสินค้าฯลฯ เราควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับถนนในชนบทหรือท้องถิ่นที่ห่างไกลให้มากขึ้นเพื่อเป็นการขยายความเจริญออกไปตามตัวเมืองต่าง ๆ ในทุกภูมิภาคของประเทศการสร้างถนนนั้นนำมาซึ่งผลิตผลผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ จากชนบทเข้าสู่เมืองหรือที่เรียกว่ามีถนนที่ไหนที่นั่นย่อมมีความเจริญบ้านเมืองใดไม่มีถนนความเจริญก็ไม่สามารถเข้าไปสู่ชุมชนต่างๆได้อย่างเช่นในปัจจุบันที่ความเจริญมักจะต้องใช้ถนนในการนำพาความเจริญต่างๆเข้าไปสู่ชุมชนในชนบทที่ห่างไกลจากตัวเมือง ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ประเทศต้องการความเจริญทั้ง เศรษฐกิจและวัฒนธรรม จึงมีความจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการก่อสร้างถนนเป็นอย่างยิ่ง ดังเช่น การสร้างถนนสายแรกของประเทศไทย ถนนสายแรกของไทยคือ ถนนเจริญกรุง เป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ก่อสร้างเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อ 150 ปีก่อน ทำให้มีชาวต่างชาติย้ายเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯเป็นจำนวนมากขึ้น ทำให้เกิดการค้าขายและรุ่งเรืองมากขึ้น นอกจากนี้พวกกงสุลได้รวมตัวกันลงชื่อขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับขี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า “ชาวยุโรปเคยขี่รถขี่ม้า เที่ยวตากอากาศ ได้ความสบายไม่มีไข้ เข้ามาอยู่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถขี่ม้าไปเที่ยวพากันเจ็บไข้เนืองๆ" ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค ต่อมาคือ สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง บุนนาค)) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง พระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงาน รับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลม เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ (แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญกรุงตอนล่าง) กว้าง 5 วา 4 ศอก โดยมีนายเฮนรี อาลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) เป็นผู้สำรวจแนวถนนและเขียนแผนผังถนน และในปีจอ พ.ศ. 2405โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กอง พระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน รับผิดชอบการก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนใน คือช่วงระยะทางตั้งแต่วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหารผ่านสำเพ็ง (ย่านการค้าของชาวจีน) ผ่านบางรัก (ย่านการค้าและที่อยู่อาศัยของชาวตะวันตก) ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วา โดยสร้างเป็นถนนดินอัด เอาอิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกัน ตรงกลางนูนสูง เมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด การก่อสร้างถนนเจริญกรุงตอนในนี้เดิมกำหนดให้ตัดตรงจากสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย แต่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงทักท้วงว่าการสร้างถนนตรงมาสู่ พระบรมมหาราชวัง อาจเป็นชัยภูมิให้ข้าศึกใช้ตั้งปืนใหญ่ยิงทำลายกำแพงเมืองได้ จึงต้องเปลี่ยนแนวถนนมาหักมุมเลี้ยวตรงเชิงสะพานดำรงสถิตถนนสายแรกของไทยใช้ระยะเวลาในการสร้างนานถึง 3 ปีเมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ๆ นั้นยังไม่ได้พระราชทานนามจึงเรียกกันทั่วไปว่าถนนใหม่และชาวยุโรปเรียกว่านิวโรด (ถนนใหม่) ชาวจีนเรียกซินพะโล้วแปลว่าถนนตัดใหม่ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ซึ่งมีความหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองเช่นเดียวกับชื่อถนนบำรุงเมืองและถนนเฟื่องนครที่โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นในคราวเดียวกันถนนเจริญกรุงแบ่งเป็น 2 ตอนคือถนนเจริญกรุงในเขตกำแพงเมืองเริ่มจากบริเวณหน้าวัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามจนถึงสะพานดำรงสถิตย์ต่อกับถนนเจริญกรุงตอนนอกกำแพงเมืองจนถึงตำบลดาวคะนองดังนั้นจากที่กล่าวมาข้างต้นถนนมีความสำคัญเป็นอย่างมากและถนนเจริญกรุงได้นำมาซึ่งความเจริญและความทันสมัยต่างๆสู่บ้านเมืองพวกเราจึงได้จัดทำโครงงานศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับถนนเจริญกรุงเพื่อศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของถนนเจริญกรุงการสร้างถนนเจริญกรุงความเจริญที่เข้ามาหลังจากสร้างถนนรวมไปถึงความร่วมมือของบุคคลต่าง ๆ และเพื่อให้เข้าใจถึงประสงค์ของการสร้างถนน1.2 วัตถุประสงค์การวิจัย1. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ของถนนเจริญกรุง2. เพื่อศึกษาขั้นตอนและรูปแบบการสร้างถนนเจริญกรุง3. เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร1.3 ขอบเขตการศึกษา1. ถนนเจริญกรุง(ที่ตั้ง)1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับผู้จัดทำโครงงานคาดว่าหลังจากการศึกษาค้นคว้าโครงงานเรื่องถนนเจริญกรุงจะได้รับความรู้เรื่องประวัติความเป็นมาของถนนเจริญกรุงวิธีในการสร้างถนนเจริญกรุงจุดประสงค์ของการสร้างถนนเจริญกรุงและหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะสามารถอธิบายและถ่ายทอดความรู้เหล่านี้ให้กับผู้อื่นได้1.5 นิยามศัพท์1. ซินพะโล้วคือถนนตัดใหม่ ถนนเจริญกรุง2. ดินอัดคือการถมดินไปทีละชั้น 90X120X60 ซม.มีความหนาชั้นละประมาณ 20-50 ขึ้นอยู่กับลักษณะดินและการกำหนดของผู้ออกแบบแล้วก็บดอัดให้แน่นทีละชั้นหมดไปชั้นหนึ่งค่อยถมดินต่อแล้วก็บดอัดอีกทำแบบนี้จนกว่าจะได้ระดับตามที่เราต้องการการถมแบบนี้จะได้ดินที่อัดแน่นดีมีการทรุดตัวน้อย3. ชาวต่างชาติคือชาวต่างประเทศที่มีถิ่นฐานอยู่ในอีกประเทศหนึ่ง4. ถนนแบบตะวันตกคือถนนที่ใช้เทคนิคการก่อสร้างแบบตะวันตก5. ความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมืองคือเจริญกรุง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 1
บทนำ1.1 ถนนมีความสำคัญหลายด้านเช่น เพื่อสาธารณะประโยชน์ในการเดินทางการขนส่ง สินค้า ฯลฯ ในทุกภูมิภาคของประเทศการสร้างถนน นั้นนำมาซึ่งผลิตผลผลิตภัณฑ์ต่างๆจากชนบทเข้าสู่เมืองหรือที่เรียกว่ามีถนนที่ไหนที่นั่นย่อมมีความเจริญบ้านเมืองใดไม่มีถนน อย่างเช่นในปัจจุบัน เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ดังเช่นการสร้างถนนสายแรกของ ประเทศไทยถนนสายแรกของไทยคือถนนเจริญกรุง 150 ปีก่อน "ชาวยุโรปเคยขี่รถขี่ม้าเที่ยว ตากอากาศได้ความสบายไม่มีไข้ ในปีระกา พ.ศ. 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยา ศรีสุริยวงศ์ (ช่วงบุนนาคต่อมาคือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหา ศรีสุริยวงศ์ (ช่วงบุนนาค)) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กอง เรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ กว้าง 5 วา 4 ศอกโดยมีนายเฮนรีอา ลาบาศเตอร์ (ต้นสกุลเศวตศิลา) และในปีจอ พ.ศ. 2405 โปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยายมราช (ครุฑ) เป็นแม่กองพระยาบรรหารบริรักษ์ (สุ่น) เป็นนายงาน (ย่านการค้าของชาวจีน) ผ่านบางรัก ถึงสะพานดำรงสถิต (สะพานเหล็ก) กว้าง 4 วาโดยสร้างเป็นถนนดินอัดเอา อิฐเรียงตะแคงปูให้ชิดกันตรงกลางนูนสูงเมื่อถูกฝนไม่กี่ปีก็ชำรุด (สะพานเหล็ก) ถึงกำแพงเมืองด้านถนนสนามไชย พระบรมมหาราชวัง 3 ปีเมื่อสร้างถนนเจริญกรุงเสร็จใหม่ ๆ นั้นยังไม่ได้พระราชทานนามจึงเรียกกันทั่วไปว่าถนนใหม่และชาวยุโรปเรียกว่านิวโรด (ถนนใหม่) ชาวจีนเรียกซินพะโล้วแปล ว่าถนนตัดใหม่ต่อมา พระราชทานนามถนนว่า "ถนนเจริญกรุง" ที่โปรดเกล้าฯ แบ่งเป็น 2 ตอนคือถนนเจริญกรุงในเขตกำแพงเมือง จากที่กล่าวมาข้างต้นถนนมี ความสำคัญเป็นอย่างมาก พวกเราจึงได้จัดทำโครงงาน ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับถนนเจริญกรุง การสร้างถนนเจริญกรุงความเจริญที่เข้า มาหลังจากสร้างถนนรวมไปถึงความร่วมมือของบุคคลต่างๆ วัตถุประสงค์การวิจัย1 เพื่อศึกษาขั้นตอนและรูปแบบการ สร้างถนนเจริญกรุง 3 เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อ การสื่อสาร 1.3 ขอบเขตการศึกษา1 ถนนเจริญกรุง (ที่ตั้ง) 1.4 วิธีในการสร้างถนนเจริญกรุง นิยามศัพท์1 ซินพะโล้วคือถนนตัดใหม่, ถนนเจริญกรุง2 ดินอัดคือการถมดินไปที ละชั้นมีความหนาชั้นละประมาณ 20-50 ซม ขึ้นอยู่กับลักษณะดินและการกำหนด ของผู้ออกแบบแล้วก็บดอัดให้แน่นทีละชั้นหมดไปชั้นหนึ่งค่อยถมดินต่อแล้วก็บดอัดอีกทำแบบนี้จนกว่าจะได้ระดับตามที่เราต้องการการถมแบบนี้จะได้ ดินที่อัดแน่นดีมีการทรุด ตัวน้อย 3 ชาวต่างชาติคือ ถนนแบบตะวันตกคือ เจริญกรุงคือความเจริญรุ่งเรืองของบ้านเมือง































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 1บทนำ1.1 ที่มาและความสำคัญของงานวิจัยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันถนนมีความสำคัญหลายด้านเช่นด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชนทั้งประเทศถนนนำมาซึ่งความเจริญทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของชาติเพื่อสาธารณะประโยชน์ในการเดินทางการขนส่งสินค้าฯลฯเราควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับถนนในชนบทหรือท้องถิ่นที่ห ่างไกลให้มากขึ้นเพื่อเป็นการขยายความเจริญออกไปตามตัวเมืองต่างๆในทุกภูมิภาคของประเทศการสร้างถนนนั้นนำมาซึ่งผลิตผลผลิตภัณฑ์ต่างๆจากชนบทเข้าสู่เมืองหรือที่เรียกว่ามีถนนที่ไหนที่นั่นย่อมมีความเจริญบ้านเมืองใดไม่มีถนนความเจริญก็ไม่สามารถเข้าไปสู่ชุมชน ต่างๆได้อย่างเช่นในปัจจุบันที่ความเจริญมักจะต้องใช้ถนนในการนำพาความเจริญต่างๆเข้าไปสู่ชุมชนในชนบทที่ห่างไกลจากตัวเมืองในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่ประเทศต้องการความเจริญทั้งเศรษฐกิจและวัฒนธรรมจึงมีความจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการก่อสร้างถนนเป็นอย่างยิ่งดังเช่นการสร้างถนนสายแรกของประเทศไทยถนนสายแรกของไทยคือถนนเจริญกรุงเป็นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอ ยู่หัวโปรดเกล้าฯให้ก่อสร้างเนื่องจากในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อ 150 ปีก่อนทำให้มีชาวต่างชาติย้ายเข้ามาอยู่ในกรุงเทพฯเป็นจำนวนมากขึ้นทำให้เกิดการค้าขายและรุ่งเรืองมากขึ้นนอกจากนี้พวกกงสุลได้รวมตัวกันลงชื่อขอให้สร้างถนนสายยาวสำหรับข ี่ม้าหรือนั่งรถม้าตากอากาศและอ้างว่า " ชาวยุโรปเคยขี่รถขี่ม้าเที่ยวตากอากาศได้ความสบายไม่มีไข้เข้ามาอยู่กรุงเทพมหานครไม่มีถนนหนทางที่จะขี่รถขี่ม้าไปเที่ยวพากันเจ็บไข้เนืองๆ " ในปีระกาพ . ศ . 2404 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ ( ช่วงบุนนาคต่อมาคือสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ ( ช่วงบุนนาค ) ที่สมุหพระกลาโหมเป็นแม่กองพระยาอินทราธิบดีสีหราชรองเมืองเป็นนายงานรับผิดชอบในการก่อสร้างถนนช่วงตั้งแต่คูเมืองชั้นในถึงถนนตกริมแม่น้ำเจ ้าพระยาที่ตำบลบางคอแหลมเรียกว่าถนนเจริญกรุงตอนใต้ ( แต่ชาวบ้านมักเรียกว่าเจริญ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: