รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา ็ RCEPนางอภิรดีตันตราภรณ์รัฐมนตรีว่าการ การแปล - รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา ็ RCEPนางอภิรดีตันตราภรณ์รัฐมนตรีว่าการ ไทย วิธีการพูด

รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา ็ RC

รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา ็ RCEP

นางอภิรดีตันตราภรณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยถึงการประชุมรัฐมนตรีความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ครั้งที่ 3 (Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) Ministerial Meeting) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2558 ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ครั้งที่ 47 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซีย เพื่อรับทราบความคืบหน้าการเจรจา และปลดล็อคสําคัญเรื่องรูปแบบการเปิดตลาดสินค้ากลุ่มแรก คาดจะสามารถสรุปผลการเจรจาได้ในปี 2016

นายธวัชชัย โสภาเสถียรพงศ์อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ในฐานะหัวหน้าผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรี RCEP ครั้งที่ 3 กล่าวถึง สาระสําคัญของการประชุมครั้งนี้ว่า สามารถตกลงวิธีการลดภาษีสินค้ากลุ่มแรกได้แล้ว และจะตกลงในรายละเอียดของการลดภาษีแนวทางการเปิดเสรีการค้าบริการ การลงทุน และการจัดทําข้อผูกพันให้แล้วเสร็จ เพื่อให้สามารถรายงานต่อผู้นํา RCEP ในการประชุมผู้นําอาเซียนในเดือนพฤศจิกายนศกนี้สําหรับเรื่องอื่นๆ เพื่อให้ RCEP เป็นความตกลงที่ทันสมัย เป็นประโยชน์เพิ่มขึ้น และครอบคลุมประเด็นต่างๆ ครบถ้วน จึงควรให้มีการเจรจาต่อเนื่องในปี 2016

นายธวัชชัย กล่าวต่อว่า “การเจรจา RCEP เต็มไปด้วยความท้าทาย แต่สมาชิก 16 ชาติอันได้แก่อาเซียน 10 ประเทศ จีน เกาหลีญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลักดันให้ RCEP เกิดขึ้น เนื่องจากเชื่อมั่นว่าภูมิภาค RCEP จะเป็นตลาดที่เติบโตและมีศักยภาพมหาศาลในอนาคต มีโอกาสทางการค้ามากมายรออยู่ด้วยเป็นภูมิภาคที่มี GDP รวมกันกว่า 22.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 29.3 ของ GDP โลก ในปี 2014 มูลค่าการค้าระหว่างสมาชิก RCEP มีมูลค่าสูงถึง 10.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 28.4 ของมูลค่าการค้าโลก และมีเงินลงทุนเข้ามาในภูมิภาค RCEP ถึง 3.663 แสนล้านเหรียญสหรัฐ คิดเป็นร้อยละ 29.8 ของมูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของโลก”

นายธวัชชัย กล่าวต่อไปว่า “ประโยชน์สําคัญที่ไทยจะได้จากการเจรจา RCEP คือเรื่องการปรับประสานกฎถิ่นกําเนิดสินค้าให้เป็นหนึ่งเดียวในภูมิภาค RCEP จากเดิมที่ไทยและอาเซียนมีกฎถิ่นกําเนิดสินค้าแตกต่างกันระหว่างแต่ละประเทศคู่เจรจาภายใต้ความตกลงอาเซียน+1 ทั้ง 5 ฉบับ เนื่องจากในปัจจุบันการค้าระหว่างประเทศในภูมิภาค RCEP ส่วนใหญ่ เป็นการค้าวัตถุดิบ และสินค้าขั้นกลางเพื่อนําไปผลิตต่อเนื่องเป็นสินค้าสําเร็จรูป การยกเลิกภาษีการปรับประสานกฎถิ่นกําเนิด และกฎระเบียบอื่นระหว่าง 16 ประเทศให้มีความสอดคล้องกัน จะช่วยอํานวยความสะดวกทางการค้าให้กับผู้ประกอบการ ส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิต และดึงดูดการลงทุนเข้ามาสู่ไทยและภูมิภาค RCEP โดยรวม”
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจาไม้ไต่คู้ RCEPนางอภิรดีตันตราภรณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยถึงการประชุมรัฐมนตรีความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคครั้งที่ 3 (ภูมิภาคครอบคลุมหุ้นส่วนเศรษฐกิจ (RCEP) ประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศ) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2558 ในช่วงการประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนครั้งที่ 47 ณกรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียเพื่อรับทราบความคืบหน้าการเจรจาและปลดล็อคสําคัญเรื่องรูปแบบการเปิดตลาดสินค้ากลุ่มแรกคาดจะสามารถสรุปผลการเจรจาได้ในปี 2016 นายธวัชชัยโสภาเสถียรพงศ์อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศในฐานะหัวหน้าผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรี RCEP ครั้งที่ 3 กล่าวถึงสาระสําคัญของการประชุมครั้งนี้ว่าสามารถตกลงวิธีการลดภาษีสินค้ากลุ่มแรกได้แล้วและจะตกลงในรายละเอียดของการลดภาษีแนวทางการเปิดเสรีการค้าบริการการลงทุนและการจัดทําข้อผูกพันให้แล้วเสร็จเพื่อให้สามารถรายงานต่อผู้นํา RCEP ในการประชุมผู้นําอาเซียนในเดือนพฤศจิกายนศกนี้สําหรับเรื่องอื่น ๆ เพื่อให้ RCEP เป็นความตกลงที่ทันสมัยเป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นและครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ ครบถ้วนจึงควรให้มีการเจรจาต่อเนื่องในปี 2016 นายธวัชชัยกล่าวต่อว่า "การเจรจา RCEP เต็มไปด้วยความท้าทายแต่สมาชิก 16 ชาติอันได้แก่อาเซียน 10 ประเทศจีนเกาหลีญี่ปุ่นอินเดียออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลักดันให้ RCEP เกิดขึ้นเนื่องจากเชื่อมั่นว่าภูมิภาค RCEP จะเป็นตลาดที่เติบโตและมีศักยภาพมหาศาลในอนาคตมีโอกาสทางการค้ามากมายรออยู่ด้วยเป็นภูมิภาคที่มี GDP รวมกันกว่า 22.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 29.3 นั้น ๆ GDP โลกในปี 2014 มูลค่าการค้าระหว่างสมาชิก RCEP มีมูลค่าสูงถึง 10.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 28.4 ของมูลค่าการค้าโลกและมีเงินลงทุนเข้ามาในภูมิภาค RCEP ถึง 3.663 แสนล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 29.8 ของมูลค่าการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของโลก"นายธวัชชัยกล่าวต่อไปว่า "ประโยชน์สําคัญที่ไทยจะได้จากการเจรจา RCEP คือเรื่องการปรับประสานกฎถิ่นกําเนิดสินค้าให้เป็นหนึ่งเดียวในภูมิภาค RCEP จากเดิมที่ไทยและอาเซียนมีกฎถิ่นกําเนิดสินค้าแตกต่างกันระหว่างแต่ละประเทศคู่เจรจาภายใต้ความตกลงอาเซียน + 1 ทั้ง 5 ฉบับเนื่องจากในปัจจุบันการค้าระหว่างประเทศในภูมิภาค RCEP ส่วนใหญ่เป็นการค้าวัตถุดิบและสินค้าขั้นกลางเพื่อนําไปผลิตต่อเนื่องเป็นสินค้าสําเร็จรูปการยกเลิกภาษีการปรับประสานกฎถิ่นกําเนิดและกฎระเบียบอื่นระหว่าง 16 ประเทศให้มีความสอดคล้องกันจะช่วยอํานวยความสะดวกทางการค้าให้กับผู้ประกอบการส่งเสริมการเชื่อมโยงเครือข่ายการผลิตและดึงดูดการลงทุนเข้ามาสู่ไทยและภูมิภาค RCEP โดยรวม"
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา็ ครั้งที่ 3 (ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (RCEP) การประชุมรัฐมนตรี) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2558 ครั้งที่ 47 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียเพื่อรับทราบความคืบหน้าการเจรจา คาดจะสามารถสรุปผลการเจรจาได้ในปี 2016 นายธวัชชัย RCEP ครั้งที่ 3 กล่าวถึงสาระสําคัญของการประชุมครั้งนี้ว่า การลงทุนและการจัดทําข้อผูกพันให้แล้วเสร็จเพื่อให้สามารถรายงานต่อผู้นํา RCEP เพื่อให้ RCEP เป็นความตกลงที่ทันสมัยเป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นและครอบคลุมประเด็นต่างๆครบถ้วนจึงควรให้มีการเจรจาต่อเนื่องในปี 2016 นายธวัชชัยกล่าวต่อว่า "การเจรจา RCEP เต็มไปด้วยความท้าทาย แต่สมาชิก 16 ชาติอัน ได้แก่ อาเซียน 10 ประเทศจีนเกาหลีญี่ปุ่นอินเดียออสเตรเลีย RCEP เกิดขึ้นเนื่องจากเชื่อมั่นว่าภูมิภาค RCEP จีดีพีรวมกันกว่า 22.7 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 29.3 ของจีดีพีโลกในปี 2014 มูลค่าการค้าระหว่างสมาชิก RCEP มีมูลค่าสูงถึง 10.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 28.4 ของมูลค่าการค้าโลกและมีเงินลงทุนเข้า มาในภูมิภาค RCEP ถึง 3.663 แสนล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 29.8 กล่าวต่อไปว่า RCEP RCEP ทั้ง 5 ฉบับ RCEP ส่วนใหญ่เป็นการค้าวัตถุดิบ และกฎระเบียบอื่นระหว่าง 16 ประเทศให้มีความสอดคล้องกัน RCEP โดยรวม "







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
รัฐมนตรี 16 ชาติปลดลอคการเจรจา rcep

นางอภิรดีตันตราภรณ์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์เปิดเผยถึงการประชุมรัฐมนตรีความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคครั้งที่ 3 ( หุ้นส่วนเศรษฐกิจที่ครอบคลุมภูมิภาค ( rcep ) การประชุมรัฐมนตรี ) เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2558ครั้งที่ 47 ณกรุงกัวลาลัมเปอร์ประเทศมาเลเซียเพื่อรับทราบความคืบหน้าการเจรจาและปลดล็อคสําคัญเรื่องรูปแบบการเปิดตลาดสินค้ากลุ่มแรกคาดจะสามารถสรุปผลการเจรจาได้ในปี 2016

นายธวัชชัยโสภาเสถียรพงศ์อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศในฐานะหัวหน้าผู้แทนไทยเข้าร่วมการประชุมรัฐมนตรี rcep ครั้งที่ 3 กล่าวถึงสาระสําคัญของการประชุมครั้งนี้ว่าและจะตกลงในรายละเอียดของการลดภาษีแนวทางการเปิดเสรีการค้าบริการการลงทุนและการจัดทําข้อผูกพันให้แล้วเสร็จเพื่อให้สามารถรายงานต่อผู้นํา rcepเพื่อให้ rcep เป็นความตกลงที่ทันสมัยเป็นประโยชน์เพิ่มขึ้นและครอบคลุมประเด็นต่างๆครบถ้วนจึงควรให้มีการเจรจาต่อเนื่องในปี 2016

นายธวัชชัยกล่าวต่อว่า " การเจรจา rcep เต็มไปด้วยความท้าทายแต่สมาชิก 16 ชาติอันได้แก่อาเซียน 10 ประเทศจีนเกาหลีญี่ปุ่นอินเดียออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ยังคงมุ่งมั่นที่จะผลักดันให้ rcep เกิดขึ้นrcep จะเป็นตลาดที่เติบโตและมีศักยภาพมหาศาลในอนาคตมีโอกาสทางการค้ามากมายรออยู่ด้วยเป็นภูมิภาคที่มี GDP รวมกันกว่า 227 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 29.3 ของ GDP โลกสามารถ 2014 มูลค่าการค้าระหว่างสมาชิก rcep มีมูลค่าสูงถึง 10.8 ล้านล้านเหรียญสหรัฐคิดเป็นร้อยละ 28.4 ของมูลค่าการค้าโลกและมีเงินลงทุนเข้ามาในภูมิภาค rcep ถึง 3
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: