ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนประเทศเวียดนามศิลปวัฒนธรรมประเทศเวียดน การแปล - ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนประเทศเวียดนามศิลปวัฒนธรรมประเทศเวียดน ไทย วิธีการพูด

ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนประ

ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน
ประเทศเวียดนาม
ศิลปวัฒนธรรมประเทศเวียดนาม
ด้านศิลปวัฒนธรรมของเวียดนาม มีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมของไทยอย่างมาก ที่เป็น อย่างนี้เป็นเพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหน จนอาจเรียกได้ว่า อารยธรรม วัฒนธรรม ของเวียดนาม คือ วัฒนธรรมของประเทศจีน นั่นเอง โดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถาน ต่าง ๆ อาทิ พระราชวัง วัด สุสาน ฯลฯ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่าง เด่นชัด แม้ในช่วงหลังมานี้ เวียดนามอาจได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศล และญี่ปุ่นอยู่บ้าง แต่ใน ภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีน และมีหลักฐานให้เห็นอยู่ทั่วไปบริเวณสองข้างทางที่พวกเราผ่านไป เกือบทุกถนนถ้าจะกล่าวถึงวัฒนธรรมนั้นสามารถ แยกแยะออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลากหลายในที่นี้จะ กล่าวเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมเวียดนาม กับ วัฒนธรรมไทยหรืออื่น ๆ เท่าที่จะค้นคว้าได้ ดังนี้
วัฒนธรรมทางด้านภาษา
ภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้ อักษรโรมัน (quoe ngu) และถ้าสังเกตจริง ๆ แล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศล และเมื่อนำมาเปรียบเทียบ การออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่า ความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียง กันมากกว่า ภาษาเวียดนาม ดังตัวอย่างง่าย ๆ ต่อไปนี้

ประเทศพม่า
วัฒนธรรม
ประเทศพม่ามีประชากรที่ประกอบด้วยชนหลายเผ่า แต่ละเผ่ายึดมั่นในวัฒนธรรมของตนเอง ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงง่าย ๆ นอกจากนั้น ยังยึดมั่นในศาสนาของตนเองอย่างเคร่งครัด ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๘๕ นับถือพระพุทธศาสนา ดังนั้น ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมส่วนใหญ่ จึงผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
วัฒนธรรมทางภาษา รัฐบาลพม่าประกาศให้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการ และให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่สองในโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล ถึงมหาวิทยาลัย
อย่างไรก็ตาม มีภาษาของชนเผ่าต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในพม่าไม่น้อยกว่า ๒๐ ภาษา จึงเป็นการยากที่จะให้คนพม่าทั้งประเทศใช้ภาษาพม่าแต่เพียงภาษาเดียว
วัฒนธรรมในการแต่งกาย ประชาชนพม่านิยมแต่งกายตามแบบฉบับของเผ่าของตน จึงเป็นการยากที่จะให้แต่งกายแบบเดียวกัน แม้พม่าจะตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษนานถึง ๖๒ ปี แต่อิทธิพลวัฒนธรรมแบบตะวันตก ก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการแต่งกายของชาวพม่าได้
วัฒนธรรมผสม เนื่องจากพม่าได้รับอิทธิพลจากหลายทางด้วยกัน เช่น จากอินเดีย จีน มอญ ธิเบต ลาว ไทย และชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ประเพณีวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ดังกล่าวจึงเข้าไปปะปนกับวัฒนธรรมของพม่า

ประเทศกัมบูชา
ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
• ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม ไทยกับกัมพูชามีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมาก จึงเป็นเรื่องง่ายที่รัฐบาลทั้งสองฝ่ายจะใช้ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมเป็นสื่อกลางในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ดังเช่นความพยายามที่จะประสานรอยร้าวของความสัมพันธ์ภายหลังเหตุการณ์ความไม่สงบในกรุงพนมเปญเมื่อปี 2546 ด้วยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมไทย – กัมพูชา เพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและใช้เป็นกลไกในการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ โดยสองฝ่ายได้จัดประชุมร่วมกันแล้วหลายครั้งเพื่อกำหนดทิศทางความร่วมมือและแผนปฏิบัติการประจำปีสำหรับใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานร่วมกัน นอกจากนี้ ยังได้จัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และการท่องเที่ยว เพื่อผลักดันความร่วมมือในแต่ละสาขาด้วย
• ความร่วมมือทางวิชาการไทย – กัมพูชา ไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาผ่านสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) กระทรวงการต่างประเทศ โดยให้ความสำคัญต่อการพัฒนาด้านการเกษตร การศึกษาและด้านสาธารณสุขเป็นหลัก รวมทั้งการพัฒนาในสาขาอื่นๆ อาทิ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การพัฒนาชนบท และการท่องเที่ยว เป็นต้น โดยในปี 2548 และปี 2549 ไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาเป็นงบประมาณจำนวน 36.66 ล้านบาท และ 36.32 ล้านบาท ตามลำดับ (ไม่นับความช่วยเหลือที่กัมพูชาได้รับโดยตรงจากส่วนราชการ สถาบันการศึกษา และภาคเอกชนอีกจำนวนมาก)


ประเทศไทย
ความสำคัญของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งในความเป็นชาติ ชาติใดที่ไร้เสียซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นของตนเองแล้ว ชาตินั้นจะคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ ชาติที่ไร้วัฒนธรรม แม้จะเป็นผู้พิชิตในการสงคราม แต่ในที่สุดก็จะเป็นผู้ถูกพิชิตในด้านวัฒนธรรม ซึ่งนับว่าเป็นการถูกพิชิตอย่างราบคาบและสิ้นเชิง ทั้งนี้เพราะผู้ที่ถูกพิชิตในทางวัฒนธรรมนั้นจะไม่รู้ตัวเลยว่าตนได้ถูกพิชิต เช่น พวกตาดที่พิชิตจีนได้ และตั้งราชวงศ์หงวนขึ้นปกครองจีน แต่ในที่สุดถูกชาวจีนซึ่งมีวัฒนธรรมสูงกว่ากลืนจนเป็นชาวจีนไปหมดสิ้น ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า วัฒนธรรมมีความสำคัญดังนี้
วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้แสดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคล กลุ่มคน หรือชุมชน
เป็นสิ่งที่ทำให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์
ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ที่เรามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนั้นขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของกลุ่มชน ซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรม เช่น ชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิงกำลังทอผ้า ชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กำลังมองหาเหยื่อ ชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่าย
วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดปัจจัย 4 เช่น เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่อาศัย การรักษาโรค
วัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดการแสดงความรู้สึกทางอารมณ์ และการควบคุมอารมณ์ เช่น ผู้ชายไทยจะไม่ปล่อยให้น้ำตาไหลต่อหน้าสาธารณะชนเมื่อเสียใจ
เป็นตัวกำหนดการกระทำบางอย่าง ในชุมชนว่าเหมาะสมหรือไม่ ซึ่งการกระทำบางอย่างในสังคมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเหมาะสมแต่ไม่เป็นที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่ง
จะเห็นได้ว่าผู้สร้างวัฒนธรรมคือมนุษย์ และสังคมเกิดขึ้นก็เพราะ มนุษย์ วัฒนธรรมกับสังคมจึงเป็นสิ่งคู่กัน โดยแต่ละสังคมย่อมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อน มากเพียงใด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมมักจะมีมากขึ้นเพียงใดนั้นวัฒนธรรมต่าง ๆ ของแต่ละสังคมอาจเหมือนหรือต่างกันสืบเนื่องมาจากความแตกต่างทางด้านความเชื่อ เชื้อชาติ ศาสนาและถิ่นที่อยู่ เป็นต้น
ลักษณะของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียนประเทศเวียดนามศิลปวัฒนธรรมประเทศเวียดนามด้านศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมของไทยอย่างมากที่เป็นอย่างนี้เป็นเพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหนจนอาจเรียกได้ว่าอารยธรรมวัฒนธรรมของเวียดนามคือวัฒนธรรมของประเทศจีนนั่นเองโดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถานต่างๆ อาทิพระราชวังวัดสุสานฯลฯ ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่างเด่นชัดแม้ในช่วงหลังมานี้เวียดนามอาจได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศลและญี่ปุ่นอยู่บ้างแต่ในภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีนและมีหลักฐานให้เห็นอยู่ทั่วไปบริเวณสองข้างทางที่พวกเราผ่านไปเกือบทุกถนนถ้าจะกล่าวถึงวัฒนธรรมนั้นสามารถแยกแยะออกเป็นประเภทต่างๆ ได้หลากหลายในที่นี้จะกล่าวเปรียบเทียบระหว่างวัฒนธรรมเวียดนามดื่มด่ำวัฒนธรรมไทยหรืออื่นๆ เท่าที่จะค้นคว้าได้ดังนี้วัฒนธรรมทางด้านภาษาภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปีพ.ศ. ๒๔๖๓ จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน (quoe ngu) และถ้าสังเกตจริงๆ แล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศลและเมื่อนำมาเปรียบเทียบการออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่าความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียงกันมากกว่าภาษาเวียดนามดังตัวอย่างง่ายๆ ต่อไปนี้ประเทศพม่าวัฒนธรรมประเทศพม่ามีประชากรที่ประกอบด้วยชนหลายเผ่าแต่ละเผ่ายึดมั่นในวัฒนธรรมของตนเองไม่ยอมเปลี่ยนแปลงง่ายๆ นอกจากนั้นยังยึดมั่นในศาสนาของตนเองอย่างเคร่งครัดประชาชนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ ๘๕ นับถือพระพุทธศาสนาดังนั้นขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมส่วนใหญ่จึงผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา วัฒนธรรมทางภาษารัฐบาลพม่าประกาศให้ภาษาพม่าเป็นภาษาราชการและให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองในโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลถึงมหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตามมีภาษาของชนเผ่าต่างๆ ที่ใช้อยู่ในพม่าไม่น้อยกว่า ๒๐ ภาษาจึงเป็นการยากที่จะให้คนพม่าทั้งประเทศใช้ภาษาพม่าแต่เพียงภาษาเดียว วัฒนธรรมในการแต่งกายประชาชนพม่านิยมแต่งกายตามแบบฉบับของเผ่าของตนจึงเป็นการยากที่จะให้แต่งกายแบบเดียวกันแม้พม่าจะตกเป็นเมืองขึ้นของอังกฤษนานถึง ๖๒ ปีแต่อิทธิพลวัฒนธรรมแบบตะวันตกก็ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงการแต่งกายของชาวพม่าได้ วัฒนธรรมผสมเนื่องจากพม่าได้รับอิทธิพลจากหลายทางด้วยกันเช่นจากอินเดียจีนมอญธิเบตลาวติดตามและชาวเขาเผ่าต่างๆ ประเพณีวัฒนธรรมของชนชาติต่างๆ ดังกล่าวจึงเข้าไปปะปนกับวัฒนธรรมของพม่าประเทศกัมบูชาความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรม •ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมไทยกับกัมพูชามีความคล้ายคลึงกันทางด้านศิลปวัฒนธรรมอย่างมากจึงเป็นเรื่องง่ายที่รัฐบาลทั้งสองฝ่ายจะใช้ความร่วมมือด้านวัฒนธรรมเป็นสื่อกลางในการส่งเสริมความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างกันด้วยการจัดตั้งคณะกรรมาธิการร่วมไทยดังเช่นความพยายามที่จะประสานรอยร้าวของความสัมพันธ์ภายหลังเหตุการณ์ความไม่สงบในกรุงพนมเปญเมื่อปี ๒๕๔๖ – กัมพูชาเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านวัฒนธรรมและใช้เป็นกลไกในการกระชับความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศโดยสองฝ่ายได้จัดประชุมร่วมกันแล้วหลายครั้งเพื่อกำหนดทิศทางความร่วมมือและแผนปฏิบัติการประจำปีสำหรับใช้เป็นกรอบในการดำเนินงานร่วมกันนอกจากนี้ยังได้จัดตั้งคณะอนุกรรมการด้านวัฒนธรรมประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยวเพื่อผลักดันความร่วมมือในแต่ละสาขาด้วย •ความร่วมมือทางวิชาการไทย – กัมพูชา (สพร.) ไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาผ่านสำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศกระทรวงการต่างประเทศโดยให้ความสำคัญต่อการพัฒนาด้านการเกษตรการศึกษาและด้านสาธารณสุขเป็นหลักรวมทั้งการพัฒนาในสาขาอื่น ๆ อาทิการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาชนบทและการท่องเที่ยวเป็นต้นโดยในปี 2548 และปี ๒๕๔๙ ไทยได้ให้ความช่วยเหลือแก่กัมพูชาเป็นงบประมาณจำนวน 36.66 ล้านบาทและ 36.32 ล้านบาทตามลำดับ (ไม่นับความช่วยเหลือที่กัมพูชาได้รับโดยตรงจากส่วนราชการสถาบันการศึกษาและภาคเอกชนอีกจำนวนมาก)ไรประเทศไทย ความสำคัญของวัฒนธรรม วัฒนธรรมเป็นเรื่องที่สำคัญยิ่งในความเป็นชาติชาติใดที่ไร้เสียซึ่งวัฒนธรรมอันเป็นของตนเองแล้วชาตินั้นจะคงความเป็นชาติอยู่ไม่ได้ชาติที่ไร้วัฒนธรรมแม้จะเป็นผู้พิชิตในการสงครามแต่ในที่สุดก็จะเป็นผู้ถูกพิชิตในด้านวัฒนธรรมซึ่งนับว่าเป็นการถูกพิชิตอย่างราบคาบและสิ้นเชิงทั้งนี้เพราะผู้ที่ถูกพิชิตในทางวัฒนธรรมนั้นจะไม่รู้ตัวเลยว่าตนได้ถูกพิชิตเช่นพวกตาดที่พิชิตจีนได้และตั้งราชวงศ์หงวนขึ้นปกครองจีนแต่ในที่สุดถูกชาวจีนซึ่งมีวัฒนธรรมสูงกว่ากลืนจนเป็นชาวจีนไปหมดสิ้นดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่าวัฒนธรรมมีความสำคัญดังนี้วัฒนธรรมเป็นสิ่งที่ชี้แสดงให้เห็นความแตกต่างของบุคคลกลุ่มคนหรือชุมชนเป็นสิ่งที่ทำให้เห็นว่าตนมีความแตกต่างจากสัตว์ช่วยให้เราเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่เรามองเห็นการแปลความหมายของสิ่งที่เรามองเห็นนั้นขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของกลุ่มชนซึ่งเกิดจากการเรียนรู้และถ่ายทอดวัฒนธรรมเช่นชาวเกาะซามัวมองเห็นดวงจันทร์ว่ามีหญิงกำลังทอผ้าชาวออสเตรเลียเห็นเป็นตาแมวใหญ่กำลังมองหาเหยื่อชาวไทยมองเห็นเหมือนรูปกระต่ายวัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดปัจจัย 4 เช่นเครื่องนุ่งห่มอาหารที่อยู่อาศัยการรักษาโรควัฒนธรรมเป็นตัวกำหนดการแสดงความรู้สึกทางอารมณ์และการควบคุมอารมณ์เช่นผู้ชายไทยจะไม่ปล่อยให้น้ำตาไหลต่อหน้าสาธารณะชนเมื่อเสียใจเป็นตัวกำหนดการกระทำบางอย่างในชุมชนว่าเหมาะสมหรือไม่ซึ่งการกระทำบางอย่างในสังคมหนึ่งเป็นที่ยอมรับว่าเหมาะสมแต่ไม่เป็นที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่งจะเห็นได้ว่าผู้สร้างวัฒนธรรมคือมนุษย์และสังคมเกิดขึ้นก็เพราะมนุษย์วัฒนธรรมกับสังคมจึงเป็นสิ่งคู่กันโดยแต่ละสังคมย่อมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมีขนาดใหญ่หรือมีความซับซ้อนมากเพียงใดความหลากหลายทางวัฒนธรรมมักจะมีมากขึ้นเพียงใดนั้นวัฒนธรรมต่างๆ ของแต่ละสังคมอาจเหมือนหรือต่างกันสืบเนื่องมาจากความแตกต่างทางด้านความเชื่อเชื้อชาติศาสนาและถิ่นที่อยู่เป็นต้น ลักษณะของวัฒนธรรมวัฒนธรรมเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ที่เป็น จนอาจเรียกได้ว่าอารยธรรมวัฒนธรรมของเวียดนามคือวัฒนธรรมของประเทศจีนนั่นเองโดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถานต่าง ๆ อาทิพระราชวังวัดสุสาน ฯลฯ เด่นชัดแม้ในช่วงหลังมานี้ และญี่ปุ่นอยู่บ้าง แต่ในภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีน แยกแยะออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้หลากหลายในที่นี้จะ กับวัฒนธรรมไทยหรืออื่น ๆ เท่าที่จะค้นคว้าได้ พ.ศ. 2463 จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน (Quoe งู) และถ้าสังเกตจริง ๆ แล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศลและเมื่อนำมาเปรียบเทียบ กันมากกว่าภาษาเวียดนามดังตัวอย่างง่าย ๆ ไม่ยอมเปลี่ยนแปลงง่าย ๆ นอกจากนั้น ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 85 นับถือพระพุทธศาสนาดังนั้นขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมส่วนใหญ่ และให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ถึงมหาวิทยาลัยอย่างไรก็ตามมีภาษาของชนเผ่าต่าง ๆ ที่ใช้อยู่ในพม่าไม่น้อยกว่า 20 ภาษา 62 ปี แต่อิทธิพลวัฒนธรรมแบบตะวันตก เช่นจากอินเดียจีนมอญธิเบตลาวไทยและชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ประเพณีวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ความร่วมมือด้านวัฒนธรรม 2546 - กัมพูชา นอกจากนี้ ประวัติศาสตร์และการท่องเที่ยว ความร่วมมือทางวิชาการไทย - กัมพูชา (สพร.) กระทรวงการต่างประเทศ การศึกษาและด้านสาธารณสุขเป็นหลักรวมทั้งการพัฒนาในสาขาอื่น ๆ อาทิการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์การพัฒนาชนบทและการท่องเที่ยวเป็นต้นโดยในปี 2548 และปี 2549 36.66 ล้านบาทและ 36.32 ล้านบาทตามลำดับ สถาบันการศึกษา ชาติที่ไร้วัฒนธรรมแม้จะเป็นผู้พิชิตในการสงคราม เช่นพวกตาดที่พิชิตจีนได้และตั้งราชวงศ์หงวนขึ้นปกครองจีน ดังนั้นจึงพอสรุปได้ว่า กลุ่มคน ๆ ที่เรามองเห็น เช่น 4 เช่นเครื่องนุ่งห่มอาหารที่อยู่อาศัย และการควบคุมอารมณ์เช่น ในชุมชนว่าเหมาะสมหรือไม่ และสังคมเกิดขึ้นก็เพราะมนุษย์วัฒนธรรมกับสังคมจึงเป็นสิ่งคู่กัน มากเพียงใด ๆ เชื้อชาติศาสนาและถิ่นที่อยู่เป็นต้นลักษณะของวัฒนธรรมวัฒนธรรมเ































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีวัฒนธรรมของประชาคมอาเซียน


ประเทศเวียดนามศิลปวัฒนธรรมประเทศเวียดนามด้านศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามมีความแตกต่างกับศิลปวัฒนธรรมของไทยอย่างมากที่เป็นอย่างนี้เป็นเพราะเวียดนามถูกปกครองโดยประเทศจีนมาหลายครั้งหลายหนจนอาจเรียกได้ว่าอารยธรรมวัฒนธรรมของเวียดนามความนั่นเองโดยเฉพาะทางด้านศิลปของโบราณสถานต่างจะอาทิพระราชวังวัดสุสานฯลฯซึ่งมีความคล้ายคลึงกันจนไม่สามารถแยกออกให้เห็นอย่างเด่นชัดแม้ในช่วงหลังมานี้เวียดนามอาจได้รับอิทธิพลจากประเทศฝรั่งเศลแต่ในภาพรวมแล้วจะคล้ายคลึงกับประเทศจีนและมีหลักฐานให้เห็นอยู่ทั่วไปบริเวณสองข้างทางที่พวกเราผ่านไปเกือบทุกถนนถ้าจะกล่าวถึงวัฒนธรรมนั้นสามารถแยกแยะออกเป็นประเภทต่างจะได้หลากหลายในที่นี้จะกับวัฒนธรรมไทยหรืออื่นจะเท่าที่จะค้นคว้าได้ดังนี้
วัฒนธรรมทางด้านภาษา
ภาษาของเวียดนามในช่วงแรกใช้อักษรจีนมาตลอดจนกระทั่งเมื่อปีพ . ศ .๒๔๖๓จึงเปลี่ยนมาใช้อักษรโรมัน ( quoe งู ) และถ้าสังเกตจริงจะแล้วเป็นวัฒนธรรมของฝรั่งเศลและเมื่อนำมาเปรียบเทียบการออกเสียงหรือความหมายของคำแล้วจะพบว่าความใกล้เคียงของภาษาไทยกับภาษาลาวจะใกล้เคียงภาษาเวียดนามดังตัวอย่างง่ายจะต่อไปนี้



ประเทศพม่าวัฒนธรรมประเทศพม่ามีประชากรที่ประกอบด้วยชนหลายเผ่าแต่ละเผ่ายึดมั่นในวัฒนธรรมของตนเองไม่ยอมเปลี่ยนแปลงง่ายจะนอกจากนั้นยังยึดมั่นในศาสนาของตนเองอย่างเคร่งครัดประชาชนส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ๘๕นับถือพระพุทธศาสนาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมส่วนใหญ่จึงผูกพันอยู่กับพระพุทธศาสนา
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: