บทที่ 2ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ย การแปล - บทที่ 2ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ย ไทย วิธีการพูด

บทที่ 2ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อ

บทที่ 2
ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการโรงแรมในอาเภอเมือง จังหวัดระนอง ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏี รวมถึงผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเป็นพื้นฐานทางการศึกษาดังนี้
2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ
2.2 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการตลาดและส่วนประสมทางการตลาด
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ
2.1.1 ความหมายของการบริการ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546) ให้ความหมายบริการว่า หมายถึง การปฏิบัติรับใช้ให้ความสะดวกต่างๆ
ฉัตยาพร เสมอใจ (2547 หน้า 14) ให้ความหมายของการบริการไว้ว่า หมายถึงพัฒนา ศิริโชติบัณฑิต (2548 หน้า 25) ให้ความหมายการบริการ ว่า เป็นการกระทาหน้าที่ด้านใดด้านหนึ่งที่กลุ่มบุคคลหนึ่งได้นาเอาไปเสนอขายแก่บุคคลอื่นโดยทั่วไป ที่มีลักษณะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้แต่สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการได้ การบริการเป็นสิ่งจาเป็นหรือไม่จาเป็นที่จะต้องเกี่ยวโยงถึงการขายสินค้าหรือการขายบริการนั้นๆก็ได้ แต่การให้บริการอาจจะใช้หรือไม่ใช้สินค้าเป็นองค์ประกอบในการขายก็ได้และหากมีการใช้ตัวสินค้านั้นเป็นส่วนประกอบก็จะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้านั้นไปให้ผู้ใช้บริการดังกล่าว www.ssru.ac.th
10
รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์ (2551 หน้า 3) ได้ให้ความหมายของการบริการไว้ว่า หมายถึง กิจกรรม กระบวนการ หรือการดาเนินการใดๆที่บุคคลหนึ่งหรือหน่วยงานหนึ่งได้อานวย ความสะดวก ช่วยเหลือ และ/หรือตอบสนองความจาเป็นและความต้องการให้กับบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลอื่น โดยมีวัตถุประสงค์ให้ได้รับความพึงพอใจ
Kotler (1994) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมใดๆหรือการปฏิบัติที่กลุ่มหรือคณะหนึ่งสามารถเสนอสิ่งสาคัญที่มองไม่เห็นเป็นตัวเป็นตน และไม่มีผลในการเป็นเจ้าของผลผลิตของบริการอาจเป็นหรือไม่เป็นผลิตภัณฑ์ก็ได้
2.1.2 ลักษณะของการบริการ
นงค์นุช ศรีธนาอนันต์ (2553.หน้า 174) ได้กล่าวถึง ลักษณะเฉพาะบางประการของการบริการได้แก่
1. จับต้องไม่ได้ (Intangibility) บริการเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ ประโยชน์ที่ได้รับจาก การซื้อไม่ใช่สินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่จับต้องมองเห็นได้ชัดเจน แต่อาจหมายถึงประสบการณ์โดยรวมที่ได้รับ ซึ่งทาให้การทดลองใช้และการควบคุมมาตรฐานเป็นไปได้ยาก ภาพพจน์หรือภาพลักษณ์ (Image) จึงมีความสาคัญ และต้องใช้ทัศนคติความรู้สึก (เช่น พอใจ ประทับใจ) ในการประเมินคุณภาพและความสาเร็จเสมอ นอกจากนั้น ผู้ซื้อบริการยังไม่สามารถแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของในบริการที่ได้รับอย่างสมบูรณ์ตลอดไป ซึ่งต่างจากการได้รับสินค้าที่จับต้องได้ไว้ในครอบครองและสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าที่ต้องการ
2. แยกจากกันไม่ได้ (Inseparability) กิจกรรมการบริการมีลักษณะเป็นกระบวนการ ที่ต่อเนื่องกัน ไม่สามารถแยกออกเป็นส่วนๆเหมือนสินค้าทั่วไปที่แยกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นกิจกรรมส่วนผลิต(ในโรงงาน)ส่วนจาหน่าย(ในห่างร้านหรือในห้องแสดงสินค้า)และส่วนการบริโภค(ในสถานที่ต่างๆที่ผู้ซื้อนาไปใช้) ผู้ให้บริการจึงแยกออกจากผู้รับบริการไม่ได้ เพราะการบริการจะเกิดขึ้นได้เฉพาะในเวลาที่มีผู้มาใช้บริการ จึงทาให้การวางแผนผลิตไว้ล่วงหน้าเป็นไปได้ยาก ที่สาคัญ คือผู้รับการบริการยังกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ซึ่งสามารถเห็นกระบวนการทั้งหมดได้ตลอดเวลา ณ ที่ทาการ และเป็นตัวแปรที่อยู่นอกเหนือการควบคุมได้ กิจการจึงต้องอาศัยทักษะความชานาญและประสบการณ์ของพนักงาน ในการสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการในสถานการณ์ที่มีการพบกันซึ่งหน้า www.ssru.ac.th
11
3. มีความหลากหลาย (Heterogeneity) บริการมีความหลากหลายอันเนื่องมาจากลักษณะแต่ละบุคคลที่แตกต่างกันของผู้บริการและผู้รับบริการ เช่น ในด้านทักษะความรู้ ประสบการณ์ในอดีตที่ต่างกัน รวมถึงทัศนคติ และอารมณ์ความรู้สึกที่มีขึ้นในขณะที่มีการติดต่อใช้บริการ นอกจากนั้นความต้องการของประเภทลูกค้าที่มาใช้บริการก็มีความแตกต่างกัน การบริการส่วนมากจึงต้องหลากหลายไม่อาจกาหนดและควบคุมให้มีมาตรฐานเดียวกัน ทุกประการ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ(เฉพาะคน)ได้
4. หมดอายุง่าย (Perishability) บริการไม่สามารถเก็บเป็นสินค้าคงคลัง หรือสะสมไว้รอขายในโอกาสต่อไป หรือจนกว่าถึงเวลาที่ตลาดต้องการได้ เช่น บริการห้องพักโรงแรมในแต่ละวัน ถ้าในวันใดห้องยังมีว่างอยู่ไม่มีผู้เช่าพักจนเวลาผ่านไปเป็นวันรุ่งขึ้น ห้องว่างนั้นก็เท่ากับได้สูญเสียโอกาสทารายได้ในวันนั้นไป และจะกลายเป็นบริการ สาหรับบอกขายในวันใหม่ทันที ซึ่งต่างจากสินค้าทั่วไปที่สามารถเก็บไว้ขายรวมกับของใหม่ในวันต่อไปได้อีก
พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต (2548 หน้า 30) ได้อธิบายลักษณะของการบริการไว้ว่า การบริการสามารถจาแนกได้เป็น 5 ลักษณะ ได้แก่
1. ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangibility) การบริการเป็นเรื่องของนามธรรมและเป็น สิ่งที่ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้เช่นเดียวกับตัวสินค้า ที่ผู้ซื้อหรือผู้มาใช้บริการไม่สามารถมองเห็นบริการ ลิ้มลองรสชาติ หรือการรับฟัง การสัมผัสกับการบริการก่อนที่จะทาการตัดสินใจซื้อได้และไม่มีการป้องกันการลอกเลียนแบบอันเนื่องมาจากเรื่องของทรัพย์สินทางปัญญาได้ นอกจากว่าคุณภาพของบริการที่ได้รับมาจากการใช้บริการ แต่คุณภาพของบริการก็ไม่สามารถทาการวัดออกมาได้หรือวัดได้ยากกว่าตัวสินค้ามาก ดังนั้นคุณลักษณะต่างๆของบริการจึงไม่สามารถติดต่อสื่อสารแก่ลูกค้าได้ในเรื่องของผลประโยชน์ที่จะได้รับได้ดีเท่ากับสินค้าที่สามารถจับต้องได้โดยทั่วไป
2. ไม่สามารถแยกระหว่างให้ผู้บริการและผู้รับบริการได้ (Inseparability) การบริการไม่อาจจะแยกผู้ใช้บริการหรือผู้ซื้อออกไปจากผู้ให้บริการหรือผู้ขายนั้นได้ เพราะการให้บริการในแต่ละครั้งผู้รับบริการจะต้องปฏิบัติการอยู่ร่วมกันกับผู้ให้บริการ ไม่เหมือนกับการขายสินค้าที่ผู้ผลิตจะทาการผลิตสินค้าเก็บไว้เพื่อขายและผู้บริโภคสามารถหาซื้อได้ทุกเวลาสาหรับการนามาใช้ต่อการอุปโภคบริโภคของตนเองได้ เช่น บริการการตัดผมที่ผู้ให้บริการตัดผมจะต้องขึ้นอยู่กับผู้มารับบริการตัดผมในเวลาเดียวกันก็จะดาเนินการตัดผมให้เสร็จสิ้นในแต่ละครั้งได้ หรือแม้กระทั่ง การผ่าตัดทางการแพทย์ที่แพทย์จะต้องอยู่กับคนไข้
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2
ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการโรงแรมในอาเภอเมือง จังหวัดระนอง ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏี รวมถึงผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเป็นพื้นฐานทางการศึกษาดังนี้
2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ
2.2 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.3 แนวคิดเกี่ยวกับการตลาดและส่วนประสมทางการตลาด
2.4 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม
2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ
2.1.1 ความหมายของการบริการ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2546) ให้ความหมายบริการว่า หมายถึง การปฏิบัติรับใช้ให้ความสะดวกต่างๆ
ฉัตยาพร เสมอใจ (2547 หน้า 14) ให้ความหมายของการบริการไว้ว่า หมายถึงพัฒนา ศิริโชติบัณฑิต (2548 หน้า 25) ให้ความหมายการบริการ ว่า เป็นการกระทาหน้าที่ด้านใดด้านหนึ่งที่กลุ่มบุคคลหนึ่งได้นาเอาไปเสนอขายแก่บุคคลอื่นโดยทั่วไป ที่มีลักษณะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้แต่สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการได้ การบริการเป็นสิ่งจาเป็นหรือไม่จาเป็นที่จะต้องเกี่ยวโยงถึงการขายสินค้าหรือการขายบริการนั้นๆก็ได้ แต่การให้บริการอาจจะใช้หรือไม่ใช้สินค้าเป็นองค์ประกอบในการขายก็ได้และหากมีการใช้ตัวสินค้านั้นเป็นส่วนประกอบก็จะไม่มีการโอนกรรมสิทธิ์ในตัวสินค้านั้นไปให้ผู้ใช้บริการดังกล่าว www.ssru.ac.th
10
รวีวรรณ โปรยรุ่งโรจน์ (2551 หน้า 3) ได้ให้ความหมายของการบริการไว้ว่า หมายถึง กิจกรรม กระบวนการ หรือการดาเนินการใดๆที่บุคคลหนึ่งหรือหน่วยงานหนึ่งได้อานวย ความสะดวก ช่วยเหลือ และ/หรือตอบสนองความจาเป็นและความต้องการให้กับบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลอื่น โดยมีวัตถุประสงค์ให้ได้รับความพึงพอใจ
Kotler (1994) กล่าวว่า การบริการ หมายถึง กิจกรรมใดๆหรือการปฏิบัติที่กลุ่มหรือคณะหนึ่งสามารถเสนอสิ่งสาคัญที่มองไม่เห็นเป็นตัวเป็นตน และไม่มีผลในการเป็นเจ้าของผลผลิตของบริการอาจเป็นหรือไม่เป็นผลิตภัณฑ์ก็ได้
2.1.2 ลักษณะของการบริการ
นงค์นุช ศรีธนาอนันต์ (2553.หน้า 174) ได้กล่าวถึง ลักษณะเฉพาะบางประการของการบริการได้แก่
1. จับต้องไม่ได้ (Intangibility) บริการเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ ประโยชน์ที่ได้รับจาก การซื้อไม่ใช่สินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่จับต้องมองเห็นได้ชัดเจน แต่อาจหมายถึงประสบการณ์โดยรวมที่ได้รับ ซึ่งทาให้การทดลองใช้และการควบคุมมาตรฐานเป็นไปได้ยาก ภาพพจน์หรือภาพลักษณ์ (Image) จึงมีความสาคัญ และต้องใช้ทัศนคติความรู้สึก (เช่น พอใจ ประทับใจ) ในการประเมินคุณภาพและความสาเร็จเสมอ นอกจากนั้น ผู้ซื้อบริการยังไม่สามารถแสดงสิทธิ์ความเป็นเจ้าของในบริการที่ได้รับอย่างสมบูรณ์ตลอดไป ซึ่งต่างจากการได้รับสินค้าที่จับต้องได้ไว้ในครอบครองและสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าที่ต้องการ
2. แยกจากกันไม่ได้ (Inseparability) กิจกรรมการบริการมีลักษณะเป็นกระบวนการ ที่ต่อเนื่องกัน ไม่สามารถแยกออกเป็นส่วนๆเหมือนสินค้าทั่วไปที่แยกกิจกรรมที่เกี่ยวข้องเป็นกิจกรรมส่วนผลิต(ในโรงงาน)ส่วนจาหน่าย(ในห่างร้านหรือในห้องแสดงสินค้า)และส่วนการบริโภค(ในสถานที่ต่างๆที่ผู้ซื้อนาไปใช้) ผู้ให้บริการจึงแยกออกจากผู้รับบริการไม่ได้ เพราะการบริการจะเกิดขึ้นได้เฉพาะในเวลาที่มีผู้มาใช้บริการ จึงทาให้การวางแผนผลิตไว้ล่วงหน้าเป็นไปได้ยาก ที่สาคัญ คือผู้รับการบริการยังกลายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ ซึ่งสามารถเห็นกระบวนการทั้งหมดได้ตลอดเวลา ณ ที่ทาการ และเป็นตัวแปรที่อยู่นอกเหนือการควบคุมได้ กิจการจึงต้องอาศัยทักษะความชานาญและประสบการณ์ของพนักงาน ในการสนองตอบความต้องการของผู้ใช้บริการในสถานการณ์ที่มีการพบกันซึ่งหน้า www.ssru.ac.th
11
3. มีความหลากหลาย (Heterogeneity) บริการมีความหลากหลายอันเนื่องมาจากลักษณะแต่ละบุคคลที่แตกต่างกันของผู้บริการและผู้รับบริการ เช่น ในด้านทักษะความรู้ ประสบการณ์ในอดีตที่ต่างกัน รวมถึงทัศนคติ และอารมณ์ความรู้สึกที่มีขึ้นในขณะที่มีการติดต่อใช้บริการ นอกจากนั้นความต้องการของประเภทลูกค้าที่มาใช้บริการก็มีความแตกต่างกัน การบริการส่วนมากจึงต้องหลากหลายไม่อาจกาหนดและควบคุมให้มีมาตรฐานเดียวกัน ทุกประการ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ(เฉพาะคน)ได้
4. หมดอายุง่าย (Perishability) บริการไม่สามารถเก็บเป็นสินค้าคงคลัง หรือสะสมไว้รอขายในโอกาสต่อไป หรือจนกว่าถึงเวลาที่ตลาดต้องการได้ เช่น บริการห้องพักโรงแรมในแต่ละวัน ถ้าในวันใดห้องยังมีว่างอยู่ไม่มีผู้เช่าพักจนเวลาผ่านไปเป็นวันรุ่งขึ้น ห้องว่างนั้นก็เท่ากับได้สูญเสียโอกาสทารายได้ในวันนั้นไป และจะกลายเป็นบริการ สาหรับบอกขายในวันใหม่ทันที ซึ่งต่างจากสินค้าทั่วไปที่สามารถเก็บไว้ขายรวมกับของใหม่ในวันต่อไปได้อีก
พัฒนา ศิริโชติบัณฑิต (2548 หน้า 30) ได้อธิบายลักษณะของการบริการไว้ว่า การบริการสามารถจาแนกได้เป็น 5 ลักษณะ ได้แก่
1. ไม่สามารถจับต้องได้ (Intangibility) การบริการเป็นเรื่องของนามธรรมและเป็น สิ่งที่ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้เช่นเดียวกับตัวสินค้า ที่ผู้ซื้อหรือผู้มาใช้บริการไม่สามารถมองเห็นบริการ ลิ้มลองรสชาติ หรือการรับฟัง การสัมผัสกับการบริการก่อนที่จะทาการตัดสินใจซื้อได้และไม่มีการป้องกันการลอกเลียนแบบอันเนื่องมาจากเรื่องของทรัพย์สินทางปัญญาได้ นอกจากว่าคุณภาพของบริการที่ได้รับมาจากการใช้บริการ แต่คุณภาพของบริการก็ไม่สามารถทาการวัดออกมาได้หรือวัดได้ยากกว่าตัวสินค้ามาก ดังนั้นคุณลักษณะต่างๆของบริการจึงไม่สามารถติดต่อสื่อสารแก่ลูกค้าได้ในเรื่องของผลประโยชน์ที่จะได้รับได้ดีเท่ากับสินค้าที่สามารถจับต้องได้โดยทั่วไป
2. ไม่สามารถแยกระหว่างให้ผู้บริการและผู้รับบริการได้ (Inseparability) การบริการไม่อาจจะแยกผู้ใช้บริการหรือผู้ซื้อออกไปจากผู้ให้บริการหรือผู้ขายนั้นได้ เพราะการให้บริการในแต่ละครั้งผู้รับบริการจะต้องปฏิบัติการอยู่ร่วมกันกับผู้ให้บริการ ไม่เหมือนกับการขายสินค้าที่ผู้ผลิตจะทาการผลิตสินค้าเก็บไว้เพื่อขายและผู้บริโภคสามารถหาซื้อได้ทุกเวลาสาหรับการนามาใช้ต่อการอุปโภคบริโภคของตนเองได้ เช่น บริการการตัดผมที่ผู้ให้บริการตัดผมจะต้องขึ้นอยู่กับผู้มารับบริการตัดผมในเวลาเดียวกันก็จะดาเนินการตัดผมให้เสร็จสิ้นในแต่ละครั้งได้ หรือแม้กระทั่ง การผ่าตัดทางการแพทย์ที่แพทย์จะต้องอยู่กับคนไข้
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
Chapter 2:
Theory and research related
to the satisfaction of tourists at a hotel in Thailand, Muang Ranong, the researchers studied the documentation on concepts and theories. Including research related to education as follows:
2.1. Concepts, theories about the services
2.2. Concepts, theories about satisfaction
2.3. Ideas about marketing and the marketing mix
2.4. The concept of a business hotel
2.5 Related Research
2.1 Concepts, theories about the services
2.1.1. The definition of a
dictionary of the Royal Academy (2546) to mean a means to practice to get used to staying in
Chhattisgarh medicines always conviction (2547 p.14), the definition of a service that represents the development Sirichotevanich Graduate (. 2548 page 25), the definition of services that the actions of one side of the person who is bringing to offer to other people in general. The look is not tangible but can be satisfying to the recipient of service. Service is necessary or not necessary to be related to the sale of goods or services that way. However, the service may be used or not used as a component of selling it, and if they are using a product that is a component would be no transfer of ownership of the products to the users of such services. Www.ssru.ac.th
10
RAWEEWAN Scattering Glory (2551, 3) has the meaning of a service that represents the activity, process or the operation of any one person or one agency to facilitate assistance and / or response to necessity and. Want to individuals or Group of people The purpose has been satisfied
Kotler (1994), said the service is defined as any activity or group practices or the one to offer essential is invisible to materialize. And has resulted in a yield of a product or service may or may not
2.1.2. The nature of the service
of human Links Sritana infinite (2553. p 174) has discussed some specific aspects of the service include
: 1. Visionary (Intangibility) the service is not tangible. Benefits from Not buying the product, either tangible visible. It could mean the overall experience has been. That led to the trial and control is difficult. Image, or the image (Image) is important. And requires an attitude feelings (such as satisfactory impressive) to assess the quality and success always Moreover sellers are not able to show ownership of the services that have been completely forever. Instead of receiving a tangible possession and can be stored for as long as desired
2. Not separate (Inseparability) service activities is a process. Consecutive Can not be separated into sections like general merchandise separate activities related to the activities of production (manufacturing) Disposals (in-store or in the showroom) and consumption (in places where people bought it. a) service is not separated from the service. The service will occur only at the time of the service users. Therefore, the pre-production planning, it is unlikely that significant is the recipient of the service has become an integral part of the process. Which can be seen at all times at the process and the variables that are beyond control. Therefore skilled expertise and experience of the staff. To meet the needs of users in a situation where the met head-on. Www.ssru.ac.th
11
3. Diverse (Heterogeneity) offers a variety due to the different characteristics of the individual services and clients, such as in the areas of knowledge. Past experiences differ Including attitudes And emotions while they are in contact with the service. In addition, the needs of customers using the service, it is different. Most have a variety of services can not be determined and controlled to the same standards in all respects to be able to meet the demand (for people)
4. Expiration easy (Perishability) service can not keep an inventory. Or kept waiting for the next opportunity. Or until the time that the market needs, such as a hotel room each day. If on any empty room has no tenants until the time, as the next day. Availability, it is a lost opportunity to make money in those days. And will become available For me sold on it immediately. Unlike products that can be stored in the day of the sale, as well as a further
development. Sirichotevanich Graduate (2548: 30) describe the nature of that service. Services can be classified into 5 Types
1. Can not tangible. (Intangibility) service is a matter of abstract data. What can not be touched or felt like the product. The buyer or the service can not see the service. Taste Or Hearing Exposure to the service prior to the purchase decision, and no anti-counterfeit due to the subject of intellectual property. In addition, the quality of service they receive from the service. But the quality of service can not be measured or measuring out much more difficult case. The feature of the service is not able to communicate to customers in terms of the benefits to be received as well as tangible goods can basically
two. Can not distinguish between service providers and service recipients. (Inseparability) services may not separate the users or buyers away from a service provider or vendor that. Because each service provider must operate together with the provider. Unlike products that manufacturers will be producing goods kept for sale, and consumers can buy them all the time for the application of the per capita consumption of its own, including a haircut at a barber in. to depend on the service cut at the same time, it will proceed to cut finish at a time. Or even Surgical medical doctor will be with the patient.
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทที่ 2

ทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องการศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ใช้บริการโรงแรมในอาเภอเมืองจังหวัดระนองผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเอกสารเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฏีรวมถึงผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเป็นพื้นฐานทางการศึกษาดังนี้
21 แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ


แนวคิดเกี่ยวกับการตลาดและส่วนประสมทางการตลาดแนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.2 2.3 2.4 แนวคิดเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรม


แนวคิดทฤษฏีเกี่ยวกับการบริการ 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 2.1 .1 ความหมายของการบริการ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ( 2546 ) ให้ความหมายบริการว่าหมายถึงการปฏิบัติรับใช้ให้ความสะดวกต่างๆ
ฉัตยาพรเสมอใจ ( 2547 หน้า 14 ) ให้ความหมายของการบริการไว้ว่าหมายถึงพัฒนาศิริโชติบัณฑิต ( 2548 หน้า 25 ) ให้ความหมายการบริการว่าที่มีลักษณะเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้แต่สามารถสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการได้การบริการเป็นสิ่งจาเป็นหรือไม่จาเป็นที่จะต้องเกี่ยวโยงถึงการขายสินค้าหรือการขายบริการนั้นๆก็ได้www .โดย 10

ssru .รวีวรรณโปรยรุ่งโรจน์ ( 2551 หน้า 3 ) ได้ให้ความหมายของการบริการไว้ว่าหมายถึงกิจกรรมกระบวนการหรือการดาเนินการใดๆที่บุคคลหนึ่งหรือหน่วยงานหนึ่งได้อานวยความสะดวกช่วยเหลือกลุ่มบุคคลอื่นโดยมีวัตถุประสงค์ให้ได้รับความพึงพอใจ
คอตเลอร์ ( 1994 ) กล่าวว่าการบริการหมายถึงกิจกรรมใดๆหรือการปฏิบัติที่กลุ่มหรือคณะหนึ่งสามารถเสนอสิ่งสาคัญที่มองไม่เห็นเป็นตัวเป็นตนและไม่มีผลในการเป็นเจ้าของผลผลิตของบริการอาจเป็นหรือไม่เป็นผลิตภัณฑ์ก็ได้
2.1 .2 ลักษณะของการบริการ
นงค์นุชศรีธนาอนันต์ ( 2553 หน้า 174 ) ได้กล่าวถึงลักษณะเฉพาะบางประการของการบริการได้แก่
1จับต้องไม่ได้ ( intangibility ) บริการเป็นสิ่งที่จับต้องไม่ได้ประโยชน์ที่ได้รับจากการซื้อไม่ใช่สินค้าอย่างใดอย่างหนึ่งที่จับต้องมองเห็นได้ชัดเจนแต่อาจหมายถึงประสบการณ์โดยรวมที่ได้รับภาพพจน์หรือภาพลักษณ์ ( ภาพ ) จึงมีความสาคัญและต้องใช้ทัศนคติความรู้สึก ( เช่นพอใจประทับใจ ) ในการประเมินคุณภาพและความสาเร็จเสมอนอกจากนั้นซึ่งต่างจากการได้รับสินค้าที่จับต้องได้ไว้ในครอบครองและสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานเท่าที่ต้องการ
2 .แยกจากกันไม่ได้ ( inseparability ) กิจกรรมการบริการมีลักษณะเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องกันผู้ให้บริการจึงแยกออกจากผู้รับบริการไม่ได้เพราะการบริการจะเกิดขึ้นได้เฉพาะในเวลาที่มีผู้มาใช้บริการจึงทาให้การวางแผนผลิตไว้ล่วงหน้าเป็นไปได้ยากที่สาคัญซึ่งสามารถเห็นกระบวนการทั้งหมดได้ตลอดเวลาณที่ทาการและเป็นตัวแปรที่อยู่นอกเหนือการควบคุมได้กิจการจึงต้องอาศัยทักษะความชานาญและประสบการณ์ของพนักงานwww .ssru . โดย 11

3มีความหลากหลาย ( สามารถ ) บริการมีความหลากหลายอันเนื่องมาจากลักษณะแต่ละบุคคลที่แตกต่างกันของผู้บริการและผู้รับบริการเช่นในด้านทักษะความรู้ประสบการณ์ในอดีตที่ต่างกันรวมถึงทัศนคตินอกจากนั้นความต้องการของประเภทลูกค้าที่มาใช้บริการก็มีความแตกต่างกันการบริการส่วนมากจึงต้องหลากหลายไม่อาจกาหนดและควบคุมให้มีมาตรฐานเดียวกันทุกประการเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ ( เฉพาะคน ) ได้
4 .หมดอายุง่าย ( perishability ) บริการไม่สามารถเก็บเป็นสินค้าคงคลังหรือสะสมไว้รอขายในโอกาสต่อไปหรือจนกว่าถึงเวลาที่ตลาดต้องการได้เช่นบริการห้องพักโรงแรมในแต่ละวันห้องว่างนั้นก็เท่ากับได้สูญเสียโอกาสทารายได้ในวันนั้นไปและจะกลายเป็นบริการสาหรับบอกขายในวันใหม่ทันทีซึ่งต่างจากสินค้าทั่วไปที่สามารถเก็บไว้ขายรวมกับของใหม่ในวันต่อไปได้อีก
พัฒนาศิริโชติบัณฑิต ( 2548 หน้า 30 ) ได้อธิบายลักษณะของการบริการไว้ว่าการบริการสามารถจาแนกได้เป็น 5 ลักษณะได้แก่
1ไม่สามารถจับต้องได้ ( intangibility ) การบริการเป็นเรื่องของนามธรรมและเป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้เช่นเดียวกับตัวสินค้าที่ผู้ซื้อหรือผู้มาใช้บริการไม่สามารถมองเห็นบริการลิ้มลองรสชาติหรือการรับฟังนอกจากว่าคุณภาพของบริการที่ได้รับมาจากการใช้บริการแต่คุณภาพของบริการก็ไม่สามารถทาการวัดออกมาได้หรือวัดได้ยากกว่าตัวสินค้ามาก2 .ไม่สามารถแยกระหว่างให้ผู้บริการและผู้รับบริการได้ ( inseparability ) การบริการไม่อาจจะแยกผู้ใช้บริการหรือผู้ซื้อออกไปจากผู้ให้บริการหรือผู้ขายนั้นได้ไม่เหมือนกับการขายสินค้าที่ผู้ผลิตจะทาการผลิตสินค้าเก็บไว้เพื่อขายและผู้บริโภคสามารถหาซื้อได้ทุกเวลาสาหรับการนามาใช้ต่อการอุปโภคบริโภคของตนเองได้เช่นหรือแม้กระทั่งการผ่าตัดทางการแพทย์ที่แพทย์จะต้องอยู่กับคนไข้
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: