ปริญญานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่น ผู้จัดทำได้ทำการศึกษากระบวนการจัดทำผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นจากหลากหลายแหล่งความรู้ และรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อนำมาใช้ในการผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่น ผู้วิจัยจึงได้ผสมผสานระหว่างการออกแบบอินโฟกราฟิกแบบสื่อสิ่งพิมพ์กับการเคลื่อนไหวแบบแอนิเมชั่นให้มีความเข้าใจง่าย น่าสนใจ สอดคล้องและตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุด ให้กลุ่มเป้าได้มีความเข้าใจกับสื่อได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยผู้วิจัยจะผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่น โดยการทำเคลื่อนไหวและใส่เสียงประกอบ เพื่อให้สื่อมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
จากการวิจัยพบว่า จำนวนกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายทั้งหมด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 47 และเป็นเพศหญิง ทั้งหมด 20 คน คิดเป็นร้อยละ 53 และในจำนวนผู้ประเมินทั้งหมด อยู่ในช่วงอายุ 20-25 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน เป็นนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยการวิทยุและโทรทัศน์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียจำนวน 6 คน, และสาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และจากผลสำรวจหลักสูตรการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาภาคปกติ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 และเป็นนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 โดยระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนน เฉลี่ยรวมที่ 4.53 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.12 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ เนื้อหามีความสอดคล้องกับสื่ออินโฟกราฟิก, ปริมาณเนื้อหามีความเหมาะสม, ได้รับความรู้และข้อมูลที่นำเสนออย่างถูกต้อง และรูปแบบการนำเสนอช่วยให้เข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.77 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.43 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ ความเข้าใจหลังชมสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่น ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.48 อยู่ในระดับดีมาก และการประเมินคุณภาพของสื่อจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 6 ท่าน จำนวน 2 ด้าน เป็นเพศชายทั้งหมด 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 70 และผู้เชี่ยวชาญที่เป็นเพศหญิงทั้งหมด 2 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 30 สรุปได้ว่า คุณภาพด้านกราฟิกและการออกแบบ มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.75 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.29 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ สีที่ใช้มีความเหมาะสม ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 5.00 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ การลำดับภาพที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา,การเคลื่อนไหวของภาพมีความเหมาะสม และ ตัวละครมีความเหมาะสมกับเนื้อหา ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.58 อยู่ในระดับดีมาก ด้านเสียง มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.5 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2.20 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ น้ำเสียงของผู้พากษ์มีความสอดคล้องกับสื่อ ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 อยู่ในระดับดีมาก ด้านเนื้อหา มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.1 อยู่ในระดับดี มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.26 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ ภาพประกอบสอดคล้องกับเนื้อหา มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 5 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ เนื้อหามีความสอดคล้องกับสื่ออินโฟกราฟิก ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.58 อยู่ในระดับดีมาก
ปริญญานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นผู้จัดทำได้ทำการศึกษากระบวนการจัดทำผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นจากหลากหลายแหล่งความรู้และรวบรวมข้อมูลทั้งหมดเพื่อนำมาใช้ในการผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นผู้วิจัยจึงได้ผสมผสานระหว่างการออกแบบอินโฟกราฟิกแบบสื่อสิ่งพิมพ์กับการเคลื่อนไหวแบบแอนิเมชั่นให้มีความเข้าใจง่ายน่าสนใจสอดคล้องและตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุดให้กลุ่มเป้าได้มีความเข้าใจกับสื่อได้ง่ายยิ่งขึ้นโดยผู้วิจัยจะผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นโดยการทำเคลื่อนไหวและใส่เสียงประกอบเพื่อให้สื่อมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้นจากการวิจัยพบว่า จำนวนกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายทั้งหมด 10 คน คิดเป็นร้อยละ 47 และเป็นเพศหญิง ทั้งหมด 20 คน คิดเป็นร้อยละ 53 และในจำนวนผู้ประเมินทั้งหมด อยู่ในช่วงอายุ 20-25 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน เป็นนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยการวิทยุและโทรทัศน์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์ จำนวน 6 คน, สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียจำนวน 6 คน, และสาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และจากผลสำรวจหลักสูตรการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาภาคปกติ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.3 และเป็นนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอน จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 66.7 โดยระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนน เฉลี่ยรวมที่ 4.53 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.12 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ เนื้อหามีความสอดคล้องกับสื่ออินโฟกราฟิก, ปริมาณเนื้อหามีความเหมาะสม, ได้รับความรู้และข้อมูลที่นำเสนออย่างถูกต้อง และรูปแบบการนำเสนอช่วยให้เข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้น มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.77 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.43 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ ความเข้าใจหลังชมสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่น ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.48 อยู่ในระดับดีมาก และการประเมินคุณภาพของสื่อจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 6 ท่าน จำนวน 2 ด้าน เป็นเพศชายทั้งหมด 4 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 70 และผู้เชี่ยวชาญที่เป็นเพศหญิงทั้งหมด 2 ท่าน คิดเป็นร้อยละ 30 สรุปได้ว่า คุณภาพด้านกราฟิกและการออกแบบ มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.75 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.29 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ สีที่ใช้มีความเหมาะสม ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 5.00 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ การลำดับภาพที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหา,การเคลื่อนไหวของภาพมีความเหมาะสม และ ตัวละครมีความเหมาะสมกับเนื้อหา ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.58 อยู่ในระดับดีมาก ด้านเสียง มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.5 อยู่ในระดับดีมาก มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2.20 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ น้ำเสียงของผู้พากษ์มีความสอดคล้องกับสื่อ ค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 อยู่ในระดับดีมาก ด้านเนื้อหา มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.1 อยู่ในระดับดี มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.26 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือ ภาพประกอบสอดคล้องกับเนื้อหา มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 5 อยู่ในระดับดีมาก รองลงมาคือ เนื้อหามีความสอดคล้องกับสื่ออินโฟกราฟิก ค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.58 อยู่ในระดับดีมาก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ปริญญานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นผู้จัดทำได้ทำการศึกษากระบวนการจัดทำผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นจากหลากหลายแหล่งความรู้ผู้วิจัยจึงได้ผสมผสานระหว่างการออกแบบอินโฟกราฟิกแบบสื่อสิ่งพิมพ์กับการเคลื่อนไหวแบบแอนิเมชั่นให้มีความเข้าใจง่ายน่าสนใจสอดคล้องและตอบสนองกับกลุ่มเป้าหมายให้ได้มากที่สุดโดยผู้วิจัยจะผลิตสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นโดยการทำเคลื่อนไหวและใส่เสียงประกอบเพื่อให้สื่อมีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
จากการวิจัยพบว่าจำนวนกลุ่มตัวอย่างเป็นเพศชายทั้งหมด 10 คนคิดเป็นร้อยละ 47 และเป็นเพศหญิงทั้งหมด 20 คนคิดเป็นร้อยละ 53 และในจำนวนผู้ประเมินทั้งหมดอยู่ในช่วงอายุ 20-25 โดยกลุ่มตัวอย่างทั้ง 30 คน .คนจำนวน 6 ,สาขาวิชาเทคโนโลยการวิทยุและโทรทัศน์จำนวนคนสาขาวิชาเทคโนโลยีการพิมพ์จำนวนคน 6 , 6 , 6 คนสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียจำนวน ,และสาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาประชาสัมพันธ์จำนวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 20 และจากผลสำรวจหลักสูตรการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาภาคปกติจำนวน 10 คนคิดเป็นร้อยละ 333 และเป็นนักศึกษาหลักสูตรเทียบโอนจำนวน 20 คนคิดเป็นร้อยละ 66.7% โดยระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.53 อยู่ในระดับดีมากมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 012 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือเนื้อหามีความสอดคล้องกับสื่ออินโฟกราฟิกปริมาณเนื้อหามีความเหมาะสม , ,ได้รับความรู้และข้อมูลที่นำเสนออย่างถูกต้องและรูปแบบการนำเสนอช่วยให้เข้าใจข้อมูลได้ง่ายขึ้นมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.77 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 043 อยู่ในระดับดีมากรองลงมาคือความเข้าใจหลังชมสื่ออินโฟกราฟิกรูปแบบแอนิเมชั่นค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 048 อยู่ในระดับดีมากและการประเมินคุณภาพของสื่อจากผู้เชี่ยวชาญทั้งหมด 6 ท่านจำนวน 2 ด้านเป็นเพศชายทั้งหมด 4 ท่านคิดเป็นร้อยละ 70 และผู้เชี่ยวชาญที่เป็นเพศหญิงทั้งหมด 2 ท่านคิดเป็นร้อยละ 30 สรุปได้ว่ามีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 475 อยู่ในระดับดีมากมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.29 โดยหัวข้อที่มีคะแนนการประเมินมากที่สุดคือสีที่ใช้มีความเหมาะสมค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 500 อยู่ในระดับดีมากรองลงมาคือการลำดับภาพที่มีความสอดคล้องกับเนื้อหาการเคลื่อนไหวของภาพมีความเหมาะสมและ , ตัวละครมีความเหมาะสมกับเนื้อหาค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ 4.67 มีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 058 อยู่ในระดับดีมากด้านเสียงมีค่าคะแนนเฉลี่ยรวมที่ 4.5 อยู่ในระดับดีมากมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 2
การแปล กรุณารอสักครู่..