บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล (Marco Polo) ซึ่งเล่าเรื่องราวที่น่าทึ่ การแปล - บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล (Marco Polo) ซึ่งเล่าเรื่องราวที่น่าทึ่ ไทย วิธีการพูด

บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล (Mar

บันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล (Marco Polo) ซึ่งเล่าเรื่องราวที่น่าทึ่งและน่าสนใจมากมายในดินแดน ซึ่งยังไม่เคยมีชาวตะวันตกคนใดเคยไปมาก่อน เป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเดินทางทุกยุคทุกสมัยมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 700 ปี สนใจที่จะออกเดินทางไปยังดินแดนอันไกลโพ้นเพื่อค้นพบสิ่งแปลกใหม่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ซึ่งค้นพบทวีปอเมริกาในศตวรรษที่ 15 ก็ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการอ่านบันทึกการเดินทางของมาร์โค โปโล ผู้ซึ่งสมควรได้รับการยกย่องว่า เป็นนักเดินทางผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล


มาร์โค โปโล





มาร์โค โปโล เกิดเมื่อปี 1254 ที่เมืองเวนิส บิดาชื่อ นิโคโล โปโล (Nicolo Polo) เป็นพ่อค้าที่ชอบออกไปค้าขายในต่างแดน ตอนที่มาร์โค โปโลเกิด พ่อและอา มัฟเฟโอ โปโล (Maffeo Polo) ได้ออกเดินทางไปค้าขายในแถบคาบสมุทรไครเมียร์ ทางตอนใต้ของประเทศยูเครนในปัจจุบัน ซึ่งในสมัยนั้นอยู่ในเขตอิทธิพลของมองโกลที่กำลังแผ่อำนาจจากเอเชียกลางมายังทวีปยุโรป ในปี 1260 ได้เกิดสงครามระหว่างหลานของเจงกีสข่าน 2 คน ทำให้พ่อและอาของมาร์โค โปโล ต้องเดินทางหลบสงครามไปที่เมืองบูคารา (Bukhara) ในประเทศอุซเบกิซสถานในปัจจุบัน ณ ที่นั้น พ่อและอาของมาร์โค โปโลได้พบกับทูตของกุบไลข่าน (Kublai Khan) (ค.ศ. 1214-1294) ซึ่งได้ชักชวนให้บุคคลทั้งสอง เดินทางไปเข้าเฝ้ากุบไลข่าน ผู้ซึ่งมีความปรารถนาที่จะรู้จักกับชาวละตินและศึกษาวัฒนธรรมของชาวละติน นิโคโล โปโลและน้องชายได้ตอบตกลงและได้เดินทางไปกรุงปักกิ่ง (หรือที่สมัยนั้นเรียกว่า คัมบาลุก “Cambaluc”) ทั้งสองได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านในปี ค.ศ. 1266 มองโกลได้เข้าปกครองประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์หยวนขึ้นปกครองในปี ค.ศ. 1264 กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาของเจงกีสข่าน ในสมัยนั้นอาณาจักรของมองโกลได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาล กุบไลข่านเป็นผู้ที่สนใจใฝ่รู้เรื่องราวและความเชื่อของชาวยุโรปมาก จึงได้ขอให้นิโคโล โปโล และน้องชายเดินทางกลับไปยังบ้านเกิด เพื่อเข้าเฝ้าพระสันตปาปา และขอให้ส่งผู้มีความรู้ 100 คน และน้ำมันศักดิ์สิทธิ์จากวิหาร The Holy Sepulchre ในนครเยรูซาเลมกลับมาถวายพระองค์
นิโคโล โปโล และน้องชายได้เดินทางกลับถึงบ้านเกิดทีเมืองเวนิสในปี ค.ศ. 1269 มาร์โค โปโลในขณะนั้นมีอายุได้ 15 ปี ได้มีโอกาสพบบิดาเป็นครั้งแรก มารดาของมาร์โค โปโลได้เสียชีวิตไปก่อนที่บิดาของมาร์โค โปโลจะเดินทางกลับถึงบ้านเพียงเล็กน้อย ในปี ค.ศ. 1271 มาร์โค โปโล ซึ่งในขณะนั้นอายุได้ 17 ปี ได้ขอเดินทางติดตามบิดาและอากลับไปประเทศจีน พร้อมกับพระราชสาส์นจากพระสันตปาปาเกร็กกอรี่ ที่ 10 (Pope Gregory X) น้ำมันศักดิ์สิทธิ์ พร้อมด้วยพระ 2 รูป (ซึ่งได้หนีกลับไปหลังจากที่ได้ออกเดินทางไปได้เพียงเล็กน้อย)







ครอบครัวโปโลทั้ง 3 คนออกเดินทางจากนครเยรูซาเลมในปี ค.ศ. 1272 และใช้เวลาเดินทางนานเกือบ 3 ปีครึ่ง จึงเดินทางถึงเมืองชางตู (Shang-tu) ที่ประทับในฤดูร้อนของ กุบไลข่าน การเดินทางทางบกไปยังประเทศจีนในครั้งนี้ ครอบครัวโปโลได้เดินทางผ่านดินแดนต่างๆ มากมาย ได้แก่ อนาโตเลีย (เอเชียไมเนอร์) คอเคซัส ตะวันออกกลาง และเอเชียกลาง ก่อนที่จะข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ (Pamir) ซึ่งมีความสูงกว่า 5,000 เมตร เป็นเสมือนหลังคาโลก มาร์โค โปโล ได้เล่าไว้ในบันทึกว่า ระหว่างที่เดินทางอยู่บนที่ราบสูงพาเมียร์ การจุดไฟหุงหาอาหารทำได้ยากมาก เนื่องจากจุดไฟไม่ค่อยติด บนท้องฟ้าก็ไม่ค่อยมีนกบินให้เห็น หลังจากที่สามารถปีนข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ได้สำเร็จ ครอบครัวโปโลได้เดินทางข้ามทะเลทรายโกบี ซึ่งเป็นที่กล่าวขานถึงความน่ากลัวของภูตผีปีศาจ และความโหดร้ายของสภาพดินฟ้าอากาศ ภายหลังที่สามารถข้ามทะเลทรายโกบี ด่านสำคัญทางธรรมชาติด่านสุดท้ายได้สำเร็จ ครอบครัวโปโลก็สามารถเดินทางเข้าสู่เขตประเทศจีน (ตอนเหนือ) ซึ่งมาร์โค โปโล เรียกว่า คาเธย์ (Cathay) รวมระยะทางข้ามทวีปกว่า 5,600 ไมล์






ในฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1275 ครอบครัวโปโลเดินทางถึงเมืองชางตู (ประมาณ 180 ไมล์จากกรุงปักกิ่ง) ที่ประทับฤดูร้อนของกุบไลข่าน และได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านที่นั่น กุบไลข่านทรงให้ความเอ็นดู มาร์โค โปโล ซึ่งในขณะนั้นมีอายุได้ 21 ปี เป็นพิเศษ ทำให้มาร์โค โปโลได้มีโอกาสเข้าทำงานรับใช้กุบไลข่าน ในช่วงที่มองโกลปกครองประเทศจีน มองโกลให้ความไว้วางใจแก่ชาวต่างชาติมากกว่าคนจีน ภายหลังที่อยู่ประเทศจีนนานถึง 17 ปี ครอบครัวโปโลเริ่มเกิดความวิตกกังวลถึงอนาคตของพวกตน หากมีอะไรเกิดขึ้นกับกุบไลข่าน ซึ่งทรงชราภาพมากขึ้น (อายุใกล้ 80 พรรษา) ครอบครัวโปโลจึงได้เข้าไปกราบทูลกุบไลข่าน ขออนุญาตเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านเกิด ในตอนแรกกุบไลข่านไม่ทรงอนุญาต อย่างไรก็ดี ในปี ค.ศ. 1292 พระชายาของอาร์กุน (Arghun ) ข่านแห่งเปอร์เซีย ซึ่งเป็นเจ้าหญิงมองโกลสิ้นพระชนม์ อาร์กุนข่านจึงได้ส่งทูตมาขอให้กุบไลข่านส่งเจ้าหญิงมองโกลไปเป็นพระชายาองค์ใหม่ ครอบครัวโปโลจึงได้ขันอาสาพาเจ้าหญิงโคคาชิน (Kokachin) พระชนมายุ 17 พรรษาไปถวายให้แก่ข่านแห่งเปอร์เซีย กุบไลข่านจึงจำใจต้องอนุญาตให้ครอบครัวโปโลเดินทางนำเจ้าหญิงโคคาชินไปส่งให้ข่านแห่งเปอร์เซีย

การเดินทางในครั้งนี้ได้ใช้เส้นทางเรือ โดยใช้เรือกำปั่นขนาดใหญ่ 14 ลำ บรรทุกผู้โดยสาร 600 คนเดินทางผ่านเกาะญี่ปุ่น อาณาจักรจามปา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน เกาะสุมาตรา เกาะนิโคบาร์ในมหาสมุทรอินเดีย เกาะลังกา เข้าสู่อ่าวเปอร์เซีย การเดินทางใช้เวลานานถึง 2 ปี ผู้โดยสารกว่า 600 คนเหลือชีวิตรอดถึงจุดหมายปลายทางได้เพียง 18 คน เนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บ พายุ และการปล้นของโจรสลัด คณะผู้ติดตามและเจ้าหญิงโคคาชินได้เดินทางถึงเปอร์เซียในปี ค.ศ. 1294 เมื่อเดินทางถึงจึงทราบภายหลังว่า อาร์กุนข่านได้สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เจ้าหญิงโคคาชินจึงได้เสกสมรสกับโอรสของอาร์กุนข่านแทน เป็นที่น่าเสียดายว่า เจ้าหญิงโคคาชินทรงใช้ชีวิตอยู่ที่เปอร์เซียได้เพียง 2 ปีก็สิ้นพระชนม์ ในระหว่างที่ครอบครัวโปโลพำนักอยู่ที่เปอร์เซียได้ทราบข่าวการสิ้นพระชนม์ของกุบไลข่าน ภายหลังที่กุบไลข่านสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1294 อาณาจักรของมองโกลก็เริ่มเสื่อมอำนาจลงอย่างรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1368 มองโกลได้ถูกขับออกจากประเทศจีน
ครอบครัวโปโลได้เดินทางจากเปอร์เซียทางบกสู่อนาโตเลีย ซึ่งในขณะนั้นเป็นช่วงปลายสมัยไบแซนไทน์ ชาวมุสลิมเติร์กจากเอเชียกลางเริ่มหลั่งไหลเข้าสู
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บันทึกการเดินทางของมาร์โค (มาร์โคโปโลโปโลซึ่งเล่าเรื่องราวที่น่าทึ่งและน่าสนใจมากมายในดินแดนซึ่งยังไม่เคยมีชาวตะวันตกคนใดเคยไปมาก่อนเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเดินทางทุกยุคทุกสมัยมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 700 ปีสนใจที่จะออกเดินทางไปยังดินแดนอันไกลโพ้นเพื่อค้นพบสิ่งแปลกใหม่คริสโตเฟอร์โคลัมบัสซึ่งค้นพบทวีปอเมริกาในศตวรรษที่ 15 ก็ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการอ่านบันทึกการเดินทางของมาร์โคโปโลผู้ซึ่งสมควรได้รับการยกย่องว่าเป็นนักเดินทางผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาลมาร์โคโปโล มาร์โคโปโลเกิดเมื่อปี 1254 ที่เมืองเวนิสบิดาชื่อนิโคโล (Nicolo โปโลโปโลเป็นพ่อค้าที่ชอบออกไปค้าขายในต่างแดนตอนที่มาร์โคโปโลเกิดพ่อและอามัฟเฟโอโปโล (โปโลมาฟเฟโอบาร์) ได้ออกเดินทางไปค้าขายในแถบคาบสมุทรไครเมียร์ทางตอนใต้ของประเทศยูเครนในปัจจุบันซึ่งในสมัยนั้นอยู่ในเขตอิทธิพลของมองโกลที่กำลังแผ่อำนาจจากเอเชียกลางมายังทวีปยุโรปในปี 1260 ได้เกิดสงครามระหว่างหลานของเจงกีสข่าน 2 คนทำให้พ่อและอาของมาร์โคโปโลต้องเดินทางหลบสงครามไปที่เมืองบูคารา (Bukhara) ในประเทศอุซเบกิซสถานในปัจจุบันณที่นั้นพ่อและอาของมาร์โคโปโลได้พบกับทูตของกุบไลข่าน (กุบไลข่าน) (ค.ศ. 1214-1294) ซึ่งได้ชักชวนให้บุคคลทั้งสองเดินทางไปเข้าเฝ้ากุบไลข่านผู้ซึ่งมีความปรารถนาที่จะรู้จักกับชาวละตินและศึกษาวัฒนธรรมของชาวละตินนิโคโลโปโลและน้องชายได้ตอบตกลงและได้เดินทางไปกรุงปักกิ่ง (หคัมบาลุกรือที่สมัยนั้นเรียกว่า "Cambaluc") ทั้งสองได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านในปีค.ศ. 1266 มองโกลได้เข้าปกครองประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์หยวนขึ้นปกครองในปีค.ศ. 1264 กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาของเจงกีสข่านในสมัยนั้นอาณาจักรของมองโกลได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาลกุบไลข่านเป็นผู้ที่สนใจใฝ่รู้เรื่องราวและความเชื่อของชาวยุโรปมากจึงได้ขอให้นิโคโลโปโลและน้องชายเดินทางกลับไปยังบ้านเกิดเพื่อเข้าเฝ้าพระสันตปาปาและขอให้ส่งผู้มีความรู้ 100 คนและน้ำมันศักดิ์สิทธิ์จากวิหารพระศพในนครเยรูซาเลมกลับมาถวายพระองค์ นิโคโลโปโลและน้องชายได้เดินทางกลับถึงบ้านเกิดทีเมืองเวนิสในปีค.ศ. 1269 มาร์โคโปโลในขณะนั้นมีอายุได้ 15 ปีได้มีโอกาสพบบิดาเป็นครั้งแรกมารดาของมาร์โคโปโลได้เสียชีวิตไปก่อนที่บิดาของมาร์โคโปโลจะเดินทางกลับถึงบ้านเพียงเล็กน้อยในปีค.ศ. น้ำมันเบอร์มาร์โคโปโลซึ่งในขณะนั้นอายุได้ 17 ปีได้ขอเดินทางติดตามบิดาและอากลับไปประเทศจีนพร้อมกับพระราชสาส์นจากพระสันตปาปาเกร็กกอรี่ 10 (สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรี X) น้ำมันศักดิ์สิทธิ์พร้อมด้วยพระ 2 รูป (ซึ่งได้หนีกลับไปหลังจากที่ได้ออกเดินทางไปได้เพียงเล็กน้อย) ครอบครัวโปโลทั้ง 3 คนออกเดินทางจากนครเยรูซาเลมในปีค.ศ. 1272 และใช้เวลาเดินทางนานเกือบ 3 ปีครึ่งจึงเดินทางถึงเมืองชางตู (Shang-ทู) ที่ประทับในฤดูร้อนของกุบไลข่านการเดินทางทางบกไปยังประเทศจีนในครั้งนี้ครอบครัวโปโลได้เดินทางผ่านดินแดนต่าง ๆ มากมายได้แก่อนาโตเลีย (เอเชียไมเนอร์) คอเคซัสตะวันออกกลางและเอเชียกลางก่อนที่จะข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ (ปามีร์) ซึ่งมีความสูงกว่า 5000 เมตรเป็นเสมือนหลังคาโลกมาร์โคโปโลได้เล่าไว้ในบันทึกว่าระหว่างที่เดินทางอยู่บนที่ราบสูงพาเมียร์การจุดไฟหุงหาอาหารทำได้ยากมากเนื่องจากจุดไฟไม่ค่อยติดบนท้องฟ้าก็ไม่ค่อยมีนกบินให้เห็นหลังจากที่สามารถปีนข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ได้สำเร็จครอบครัวโปโลได้เดินทางข้ามทะเลทรายโกบีซึ่งเป็นที่กล่าวขานถึงความน่ากลัวของภูตผีปีศาจและความโหดร้ายของสภาพดินฟ้าอากาศภายหลังที่สามารถข้ามทะเลทรายโกบีด่านสำคัญทางธรรมชาติด่านสุดท้ายได้สำเร็จครอบครัวโปโลก็สามารถเดินทางเข้าสู่เขตประเทศจีน (ตอนเหนือ) ซึ่งมาร์โคโปโลเรียกว่าคาเธย์ (คาเธ่ย์) รวมระยะทางข้ามทวีปกว่า 5600 ไมล์ ในฤดูร้อนของปีค.ศ. 1275 ครอบครัวโปโลเดินทางถึงเมืองชางตู (ประมาณ 180 ไมล์จากกรุงปักกิ่ง) ที่ประทับฤดูร้อนของกุบไลข่านและได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านที่นั่นกุบไลข่านทรงให้ความเอ็นดูมาร์โคโปโลซึ่งในขณะนั้นมีอายุได้ 21 ปีเป็นพิเศษทำให้มาร์โคโปโลได้มีโอกาสเข้าทำงานรับใช้กุบไลข่านในช่วงที่มองโกลปกครองประเทศจีนมองโกลให้ความไว้วางใจแก่ชาวต่างชาติมากกว่าคนจีนภายหลังที่อยู่ประเทศจีนนานถึง 17 ปีครอบครัวโปโลเริ่มเกิดความวิตกกังวลถึงอนาคตของพวกตนหากมีอะไรเกิดขึ้นกับกุบไลข่านซึ่งทรงชราภาพมากขึ้น (อายุใกล้ 80 พรรษา) ครอบครัวโปโลจึงได้เข้าไปกราบทูลกุบไลข่านขออนุญาตเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านเกิดในตอนแรกกุบไลข่านไม่ทรงอนุญาตอย่างไรก็ดีในปีค.ศ. 1292 พระชายาของอาร์กุน (Arghun) ข่านแห่งเปอร์เซียซึ่งเป็นเจ้าหญิงมองโกลสิ้นพระชนม์อาร์กุนข่านจึงได้ส่งทูตมาขอให้กุบไลข่านส่งเจ้าหญิงมองโกลไปเป็นพระชายาองค์ใหม่ครอบครัวโปโลจึงได้ขันอาสาพาเจ้าหญิงโคคาชิน (Kokachin) พระชนมายุ 17 พรรษาไปถวายให้แก่ข่านแห่งเปอร์เซียกุบไลข่านจึงจำใจต้องอนุญาตให้ครอบครัวโปโลเดินทางนำเจ้าหญิงโคคาชินไปส่งให้ข่านแห่งเปอร์เซีย การเดินทางในครั้งนี้ได้ใช้เส้นทางเรือ โดยใช้เรือกำปั่นขนาดใหญ่ 14 ลำ บรรทุกผู้โดยสาร 600 คนเดินทางผ่านเกาะญี่ปุ่น อาณาจักรจามปา ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศเวียดนามในปัจจุบัน เกาะสุมาตรา เกาะนิโคบาร์ในมหาสมุทรอินเดีย เกาะลังกา เข้าสู่อ่าวเปอร์เซีย การเดินทางใช้เวลานานถึง 2 ปี ผู้โดยสารกว่า 600 คนเหลือชีวิตรอดถึงจุดหมายปลายทางได้เพียง 18 คน เนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บ พายุ และการปล้นของโจรสลัด คณะผู้ติดตามและเจ้าหญิงโคคาชินได้เดินทางถึงเปอร์เซียในปี ค.ศ. 1294 เมื่อเดินทางถึงจึงทราบภายหลังว่า อาร์กุนข่านได้สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เจ้าหญิงโคคาชินจึงได้เสกสมรสกับโอรสของอาร์กุนข่านแทน เป็นที่น่าเสียดายว่า เจ้าหญิงโคคาชินทรงใช้ชีวิตอยู่ที่เปอร์เซียได้เพียง 2 ปีก็สิ้นพระชนม์ ในระหว่างที่ครอบครัวโปโลพำนักอยู่ที่เปอร์เซียได้ทราบข่าวการสิ้นพระชนม์ของกุบไลข่าน ภายหลังที่กุบไลข่านสิ้นพระชนม์ในปี ค.ศ. 1294 อาณาจักรของมองโกลก็เริ่มเสื่อมอำนาจลงอย่างรวดเร็ว ในปี ค.ศ. 1368 มองโกลได้ถูกขับออกจากประเทศจีน ครอบครัวโปโลได้เดินทางจากเปอร์เซียทางบกสู่อนาโตเลียซึ่งในขณะนั้นเป็นช่วงปลายสมัยไบแซนไทน์ชาวมุสลิมเติร์กจากเอเชียกลางเริ่มหลั่งไหลเข้าสู
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บันทึกการเดินทางของมาร์โคโปโล (Marco Polo) 700 ปี คริสโตเฟอร์โคลัมบัสซึ่งค้นพบทวีปอเมริกาในศตวรรษที่ 15 โปโลผู้ซึ่งสมควรได้รับการยกย่องว่า โปโลมาร์โคโปโลเกิดเมื่อปี 1254 ที่เมืองเวนิสบิดาชื่อนิโคโลโปโล (Nicolo โปโล) ตอนที่มาร์โคโปโลเกิดพ่อและอามัฟเฟโอโปโล (Maffeo โปโล) ในปี 1260 2 คนทำให้พ่อและอาของมาร์โคโปโล (คารา) ในประเทศอุซเบกิซสถานในปัจจุบัน ณ ที่นั้นพ่อและอาของมาร์โคโปโลได้พบกับทูตของกุบไลข่าน (กุบไลข่าน) (ค.ศ. 1214-1294) ซึ่งได้ชักชวนให้ บุคคลทั้งสองเดินทางไปเข้าเฝ้ากุบไลข่าน นิโคโล (หรือที่สมัยนั้นเรียกว่าคัมบาลุก "Cambaluc") ทั้งสองได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านในปี ค.ศ. 1266 ค.ศ. 1264 จึงได้ขอให้นิโคโลโปโล เพื่อเข้าเฝ้าพระสันตปาปาและขอให้ส่งผู้มีความรู้ 100 คนและน้ำมันศักดิ์สิทธิ์จากวิหารสุสานศักดิ์สิทธิ์ โปโล ค.ศ. 1269 มาร์โคโปโลในขณะนั้นมีอายุได้ 15 ปีได้มีโอกาสพบบิดาเป็นครั้งแรกมารดาของมาร์โค ในปี ค.ศ. 1271 มาร์โคโปโลซึ่งในขณะนั้นอายุได้ 17 ปี ที่ 10 (สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรี) น้ำมันศักดิ์สิทธิ์พร้อมด้วยพระ 2 รูป 3 คนออกเดินทางจากนครเยรูซาเลมในปี ค.ศ. 1272 และใช้เวลาเดินทางนานเกือบ 3 ปีครึ่งจึงเดินทางถึงเมืองชางตู (ชางเฉิงตู) ที่ประทับในฤดูร้อนของกุบไลข่าน มากมาย ได้แก่ อนาโตเลีย (เอเชียไมเนอร์) คอเคซัสตะวันออกกลางและเอเชียกลางก่อนที่จะข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ (Pamir) ซึ่งมีความสูงกว่า 5,000 เมตรเป็นเสมือนหลังคาโลกมาร์โคโปโลได้เล่าไว้ในบันทึกว่า การจุดไฟหุงหาอาหารทำได้ยากมากเนื่องจากจุดไฟไม่ค่อยติดบนท้องฟ้าก็ไม่ค่อยมีนกบินให้เห็น และความโหดร้ายของสภาพดินฟ้าอากาศภายหลังที่สามารถข้ามทะเลทรายโกบี (ตอนเหนือ) ซึ่งมาร์โคโปโลเรียกว่าคาเธย์ (คาเธ่ย์) รวมระยะทางข้ามทวีปกว่า 5,600 ไมล์ในฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1,275 ครอบครัวโปโลเดินทางถึงเมืองชางตู (ประมาณ 180 ไมล์จากกรุงปักกิ่ง) ที่ประทับฤดูร้อนของกุบไลข่านและได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านที่นั่นกุบไลข่านทรงให้ความเอ็นดูมาร์โคโปโลซึ่งในขณะ นั้นมีอายุได้ 21 ปีเป็นพิเศษทำให้มาร์โค ในช่วงที่มองโกลปกครองประเทศจีน ภายหลังที่อยู่ประเทศจีนนานถึง 17 ปี หากมีอะไรเกิดขึ้นกับกุบไลข่านซึ่งทรงชราภาพมากขึ้น (อายุใกล้ 80 พรรษา) ในตอนแรกกุบไลข่านไม่ทรงอนุญาตอย่างไรก็ดีในปี ค.ศ. 1292 พระชายาของอาร์กุน (Arghun) ข่านแห่งเปอร์เซียซึ่งเป็นเจ้าหญิงมองโกลสิ้นพระชนม์ (Kokachin) พระชนมายุ 17 โดยใช้เรือกำปั่นขนาดใหญ่ 14 ลำบรรทุกผู้โดยสาร 600 คนเดินทางผ่านเกาะญี่ปุ่นอาณาจักรจามปา เกาะสุมาตราเกาะนิโคบาร์ในมหาสมุทรอินเดียเกาะลังกาเข้าสู่อ่าวเปอร์เซียการเดินทางใช้เวลานานถึง 2 ปีผู้โดยสารกว่า 600 18 คนเนื่องจากโรคภัยไข้เจ็บพายุและการปล้นของโจรสลัด ค.ศ. 1294 เมื่อเดินทางถึงจึงทราบภายหลังว่าอาร์กุนข่านได้สิ้นพระชนม์ไปแล้ว เป็นที่น่าเสียดายว่า 2 ปีก็สิ้นพระชนม์ ค.ศ. 1294 ในปี ค.ศ. 1368



























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บันทึกการเดินทางของมาร์โคโปโล ( Marco Polo ) ซึ่งเล่าเรื่องราวที่น่าทึ่งและน่าสนใจมากมายในดินแดนซึ่งยังไม่เคยมีชาวตะวันตกคนใดเคยไปมาก่อนเป็นแรงบันดาลใจให้แก่นักเดินทางทุกยุคทุกสมัยมาเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 700สนใจที่จะออกเดินทางไปยังดินแดนอันไกลโพ้นเพื่อค้นพบสิ่งแปลกใหม่คริสโตเฟอร์โคลัมบัสซึ่งค้นพบทวีปอเมริกาในศตวรรษที่ 15 ก็ได้รับแรงบันดาลใจมาจากการอ่านบันทึกการเดินทางของมาร์โคโปโลเป็นนักเดินทางผู้ยิ่งใหญ่ตลอดกาล


มาร์โคโปโล





มาร์โคโปโลเกิดเมื่อปี 1254 ที่เมืองเวนิสบิดาชื่อนิโคโลโปโล ( นิโคโล โปโล ) เป็นพ่อค้าที่ชอบออกไปค้าขายในต่างแดนตอนที่มาร์โคโปโลเกิดพ่อและอามัฟเฟโอโปโล ( มัฟฟิโอโปโล ) ได้ออกเดินทางไปค้าขายในแถบคาบสมุทรไครเมียร์ซึ่งในสมัยนั้นอยู่ในเขตอิทธิพลของมองโกลที่กำลังแผ่อำนาจจากเอเชียกลางมายังทวีปยุโรปสามารถ 1260 ได้เกิดสงครามระหว่างหลานของเจงกีสข่าน 2 คนทำให้พ่อและอาของมาร์โคโปโลต้องเดินทางหลบสงครามไปที่เมืองบูคารา ( Bukhara )ณที่นั้นพ่อและอาของมาร์โคโปโลได้พบกับทูตของกุบไลข่าน ( กุบไลข่าน ) ( ค .ศ .1214-1294 ) ซึ่งได้ชักชวนให้บุคคลทั้งสองเดินทางไปเข้าเฝ้ากุบไลข่านผู้ซึ่งมีความปรารถนาที่จะรู้จักกับชาวละตินและศึกษาวัฒนธรรมของชาวละตินนิโคโลโปโลและน้องชายได้ตอบตกลงและได้เดินทางไปกรุงปักกิ่งคัมบาลุก " แคมบาลัค " ) ทั้งสองได้เข้าเฝ้ากุบไลข่านในปีค .ศ . การ์ตูนมองโกลได้เข้าปกครองประเทศจีนและสถาปนาราชวงศ์หยวนขึ้นปกครองในปีค . ศ .1 กุบไลข่านเป็นพระราชนัดดาของเจงกีสข่านในสมัยนั้นอาณาจักรของมองโกลได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างใหญ่ไพศาลกุบไลข่านเป็นผู้ที่สนใจใฝ่รู้เรื่องราวและความเชื่อของชาวยุโรปมากจึงได้ขอให้นิโคโลโปโลเพื่อเข้าเฝ้าพระสันตปาปาและขอให้ส่งผู้มีความรู้ 100 คนและน้ำมันศักดิ์สิทธิ์จากวิหารศักดิ์สิทธิ์ในนครเยรูซาเลมกลับมาถวายพระองค์
อุโมงค์นิโคโลโปโลและน้องชายได้เดินทางกลับถึงบ้านเกิดทีเมืองเวนิสในปีค . ศ .983 มาร์โค 15 โปโลในขณะนั้นมีอายุได้ . ได้มีโอกาสพบบิดาเป็นครั้งแรกมารดาของมาร์โคโปโลได้เสียชีวิตไปก่อนที่บิดาของมาร์โคโปโลจะเดินทางกลับถึงบ้านเพียงเล็กน้อยสามารถค . ศ .ดูเหมือนมาร์โคโปโลซึ่งในขณะนั้นอายุได้ 17 . ได้ขอเดินทางติดตามบิดาและอากลับไปประเทศจีนพร้อมกับพระราชสาส์นจากพระสันตปาปาเกร็กกอรี่ที่ 10 ( สมเด็จพระสันตะปาปาเกรกอรี x ) น้ำมันศักดิ์สิทธิ์พร้อมด้วยพระ 2 รูป






ครอบครัวโปโลทั้ง 3 คนออกเดินทางจากนครเยรูซาเลมในปีค . ศ .1272 และใช้เวลาเดินทางนานเกือบ 3 ปีครึ่งจึงเดินทางถึงเมืองชางตู ( ชางตู ) ที่ประทับในฤดูร้อนของกุบไลข่านการเดินทางทางบกไปยังประเทศจีนในครั้งนี้ครอบครัวโปโลได้เดินทางผ่านดินแดนต่างๆมากมายได้แก่อนาโตเลียคอเคซัสตะวันออกกลางและเอเชียกลางก่อนที่จะข้ามที่ราบสูงพาเมียร์ ( Pamir ) ซึ่งมีความสูงกว่า 5000 เมตรเป็นเสมือนหลังคาโลกมาร์โคโปโลได้เล่าไว้ในบันทึกว่าระหว่างที่เดินทางอยู่บนที่ราบสูงพาเมียร์การจุดไฟหุงหาอาหารทำได้ยากมากเนื่องจากจุดไฟไม่ค่อยติดบนท้องฟ้าก็ไม่ค่อยมีนกบินให้เห็นครอบครัวโปโลได้เดินทางข้ามทะเลทรายโกบีซึ่งเป็นที่กล่าวขานถึงความน่ากลัวของภูตผีปีศาจและความโหดร้ายของสภาพดินฟ้าอากาศภายหลังที่สามารถข้ามทะเลทรายโกบีด่านสำคัญทางธรรมชาติด่านสุดท้ายได้สำเร็จ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: