๓.ความคิดทางการเมืองกรีกในสมัยของโซลอนยุคใหม่ของกรีกเริ่มในสมัยของโซลอ การแปล - ๓.ความคิดทางการเมืองกรีกในสมัยของโซลอนยุคใหม่ของกรีกเริ่มในสมัยของโซลอ ไทย วิธีการพูด

๓.ความคิดทางการเมืองกรีกในสมัยของโซ

๓.ความคิดทางการเมืองกรีกในสมัยของโซลอน
ยุคใหม่ของกรีกเริ่มในสมัยของโซลอน ซึ่งถือว่าเป็นผู้วางรากฐานประชาธิปไตยของกรีก ในระยะนี้ กรีกมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมมาก คือ ชนชั้นเศรษฐีมีฐานะร่ำรวยมาก และชาวนายากจนลงทุกที เกิดการกดขี่ขูดรีดค่าจ้างแรงงานอย่างหนัก ชนชั้นที่ยากจนได้เลือกโซลอน ซึ่งมาจากชนชั้นพ่อค้าที่มั่งคั่งขึ้นเป็นผู้นำ เพราะเห็นความสามารถเมื่อครั้งที่ปลุกใจชาวเอเธนส์ยึดเกาะซาลามิส (Salamis) คืนจากเมการา (Megara) ได้ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอาร์ดอน มีอำนาจตรากฎหมาย โซลอนมองเห็นว่า หากไม่แก้ปัญหาฐานะของคนยากจนแล้ว ก็จะเกิดปัญหาแตกแยกยิ่งขึ้นภายในนครรัฐ จึงเริ่มการปรับปรุงครั้งใหญ่ในด้านสังคมและการเมือง ซึ่งทำให้ชนชั้นที่ยากจนมีสิทธิต่าง ๆ มากขึ้น และวางรากฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งศาลยุติธรรม เรียกว่า เฮเลีย (Heliaea) และสภาสี่ร้อย (Council of Four Hundred) ขึ้น การปฏิรูปของโซลอนนี้ นับว่าเป็นการเน้นถึงแนวคิดในเรื่อง ความเสมอภาค (Equality) เป็นการจำกัดอำนาจทางการเมืองของคนรวย ซึ่งเท่ากับถือว่าความมั่งคั่งมิใช่ที่มาของอำนาจทางการเมือง และรัฐมีหน้าที่จัดการในเรื่องทรัพย์สิน มิให้เกิดความเหลื่อมล้ำกันในด้านฐานะจนเกินไป ความเสมอภาคทั้งทางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ จึงเป็นแนวความคิดสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการปฏิรูปครั้งนี้ นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นแนวคิดทางรัฐจริยศาสตร์ที่ว่า รัฐมีหน้าที่คุ้มครองคนยากจนและอ่อนแอให้พ้นจากการกดขี่ของคนที่ร่ำรวยและ แข็งแรงกว่า การปฏิรูปนี้มิได้ทำไปตามอำเภอใจ แต่ทำโดยการออกกฎหมาย
ใน ระยะเดียวกันนี้ แนวความคิดอีกด้านหนึ่ง ซึ่งมิใช่การปฏิรูปทางด้านตัวระบบการเมืองและสังคม แต่เป็นการปลูกฝังหลักศีลธรรมลงในจิตใจคน ก็คือ คำสอนแห่งเดลฟี่ (Delphi) กล่าวคือ ในราว ๖๐๐ ปีก่อนคริสตกาล เดลฟี่ได้กลายเป็นรัฐศักดิ์สิทธิ์หรือรัฐศาสนา และพวกนักบวชได้สอนศีลธรรม ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นแนวทางในจริยศาสตร์และกฎหมายกรีก คำสอนดังกล่าวได้แก่ หลักการรู้จักประมาณ รู้จักความดี และการถือว่าทุกสิ่งมีขอบเขตจำกัด ซึ่งต่อมาความคิดนี้ ปรากฏในคำสอนของพวกไพธากอรัส เรื่อง ความจำกัด (Limit) และปรากฎในคำสอน เรื่อง ทางสายกลาง (Mean) ของอริสโตเติล นักปราชญ์คนสำคัญของกรีกโบราณ

๔.ความคิดทางการเมืองกรีกในสมัยไพธากอรัส
คำสอนแบบเดลฟี่นั้นมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตชาวกรีก โดยเฉพาะเชื้อสายดอเรียน (Dorian) นครรัฐที่สำคัญที่สุดของกรีกเผ่านี้ ได้แก่ นครรัฐสปาร์ตา (sparta) นครรัฐนี้รับอิทธิพลคำสอนแบบเดลฟี่มาใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างมาก เช่น การไม่ให้ความสำคัญแก่ความมั่งคั่ง การเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบวินัย ซึ่งเป็นเครื่องจำกัดเสรีภาพของมนุษย์ แต่ในดินแดนกรีกบนผืนแผ่นดินใหญ่ และบนฝั่งไอโอเนียมีลักษณะเป็นสังคมเมืองมาตั้งแต่แรก เหตุผลและความพอใจต่อความสุขทางวัตถุมีมาโดยตลอด มิได้เป็นสังคมแบบเผ่า มีความเจริญ มีเสรีภาพทั้งทางปัญญาและวัตถุ ที่รัฐแถบไอโอเนียนั้น คนมีความเจริญทางปัญญาถึงขั้นที่สนใจถามปัญหาซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต มนุษย์โดยตรง เช่น เรื่องธรรมชาติของจักรวาล ต้นกำเนิดของจักรวาล ความแปรเปลี่ยน เป็นต้น ส่วนในด้านการดำเนินชีวิตของมนุษย์ก็มีปรัชญาของไพธากอรัส ซึ่งเป็นชางไอโอเนียจากเกาะซามอส เป็นหลักก่อนที่จะถึงคำสอนของโสเกรตีส (Socratis) ชาวเอเธนส์
เรา มักรู้จักไพธากอรัส ในฐานะเป็นนักคณิตศาสตร์ แต่ที่จริงแล้วไพธากอรัสและพวกถือว่าความรู้ทางคณิตศาสตร์ คือ ความรู้เกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของจักรวาล และได้ใช้ความรู้นี้อธิบายทั้งเรื่องธรรมชาติ จริยธรรมและการเมือง เช่น ความยุติธรรม คือ จำนวนที่คูณตัวมันเอง หรือกำลังสอง เพราะกำลังสองเป็นเลขจำนวนที่สมดุลที่สุด เนื่องจากประกอบขึ้นเป็นส่วนประกอบที่เท่า ๆ กันทุกส่วน ดังนั้น เมื่อความยุติธรรมเป็นจำนวนยกกำลังสองเพราะเหตุว่าทุกส่วนเท่ากัน รัฐที่ยุติธรรมจึงต้องเป็นรัฐที่ทุกส่วนเท่ากันหรือเสมอภาคกัน นั่นคือ แนวคิดเรื่องความยุติธรรมอธิบายได้ด้วยแนวคิดเรื่องความเสมอภาค เช่น การแบ่งผลประโยชน์จากฝ่ายที่ได้มากไปเพิ่มให้แก่ฝ่ายที่ได้น้อย เป็นต้น นอกจากความเท่าเทียมกันแล้ว เราจะเห็นว่า ความยุติธรรมในแง่นี้เกิดจากการปรับ ซึ่งเพลโตได้นำความคิดนี้ไปใช้ แต่ไม่ใช่ในลักษณะที่ปรับให้สมาชิกของรัฐทุกคนเท่าเทียมกัน แต่ปรับให้สมาชิกทุกคนได้สิ่งที่เหมาะสมแก่ธรรมชาติของตน และในเรื่องธรรมชาติของคน เพลโตก็ยังปรับเรื่องการแบ่งคนเป็น ๓ พวก คือ พวกรักปัญญา พวกรักเกียรติ และพวกรักผลประโยชน์ มาจากคำสอนของพวกไพธากอรัสด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
3. political fashionable Greek in Seoul Salonยุคใหม่ของกรีกเริ่มในสมัยของโซลอน ซึ่งถือว่าเป็นผู้วางรากฐานประชาธิปไตยของกรีก ในระยะนี้ กรีกมีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมมาก คือ ชนชั้นเศรษฐีมีฐานะร่ำรวยมาก และชาวนายากจนลงทุกที เกิดการกดขี่ขูดรีดค่าจ้างแรงงานอย่างหนัก ชนชั้นที่ยากจนได้เลือกโซลอน ซึ่งมาจากชนชั้นพ่อค้าที่มั่งคั่งขึ้นเป็นผู้นำ เพราะเห็นความสามารถเมื่อครั้งที่ปลุกใจชาวเอเธนส์ยึดเกาะซาลามิส (Salamis) คืนจากเมการา (Megara) ได้ เขาได้รับการแต่งตั้งเป็นอาร์ดอน มีอำนาจตรากฎหมาย โซลอนมองเห็นว่า หากไม่แก้ปัญหาฐานะของคนยากจนแล้ว ก็จะเกิดปัญหาแตกแยกยิ่งขึ้นภายในนครรัฐ จึงเริ่มการปรับปรุงครั้งใหญ่ในด้านสังคมและการเมือง ซึ่งทำให้ชนชั้นที่ยากจนมีสิทธิต่าง ๆ มากขึ้น และวางรากฐานประชาธิปไตย โดยการจัดตั้งศาลยุติธรรม เรียกว่า เฮเลีย (Heliaea) และสภาสี่ร้อย (Council of Four Hundred) ขึ้น การปฏิรูปของโซลอนนี้ นับว่าเป็นการเน้นถึงแนวคิดในเรื่อง ความเสมอภาค (Equality) เป็นการจำกัดอำนาจทางการเมืองของคนรวย ซึ่งเท่ากับถือว่าความมั่งคั่งมิใช่ที่มาของอำนาจทางการเมือง และรัฐมีหน้าที่จัดการในเรื่องทรัพย์สิน มิให้เกิดความเหลื่อมล้ำกันในด้านฐานะจนเกินไป ความเสมอภาคทั้งทางการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ จึงเป็นแนวความคิดสำคัญที่อยู่เบื้องหลังการปฏิรูปครั้งนี้ นอกจากนั้นยังแสดงให้เห็นแนวคิดทางรัฐจริยศาสตร์ที่ว่า รัฐมีหน้าที่คุ้มครองคนยากจนและอ่อนแอให้พ้นจากการกดขี่ของคนที่ร่ำรวยและ แข็งแรงกว่า การปฏิรูปนี้มิได้ทำไปตามอำเภอใจ แต่ทำโดยการออกกฎหมายIn the same period, this The concept on the other side, which is not a rapid political and social system, but as a moral principle implanted into the minds of people, it is the doctrine de lafi (Delphi) Hotels is around 600 BC. The State has become sacred lafi de or State religion and morals taught them that have become law and ethics guidelines. the teachings of such well-known principles of approximately known and hold that all things have a limited scope that this idea appears in the teachings of their pioneer thako Russ. Concern is limited to (Limit) and appear in the word teaches about the middle path (Mean) of Aristotle, important people, scholars of ancient Greece.4. political ideas in modern Thai, Greek, pioneer thako Russ.คำสอนแบบเดลฟี่นั้นมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตชาวกรีก โดยเฉพาะเชื้อสายดอเรียน (Dorian) นครรัฐที่สำคัญที่สุดของกรีกเผ่านี้ ได้แก่ นครรัฐสปาร์ตา (sparta) นครรัฐนี้รับอิทธิพลคำสอนแบบเดลฟี่มาใช้ในการดำเนินชีวิตอย่างมาก เช่น การไม่ให้ความสำคัญแก่ความมั่งคั่ง การเน้นกฎเกณฑ์และระเบียบวินัย ซึ่งเป็นเครื่องจำกัดเสรีภาพของมนุษย์ แต่ในดินแดนกรีกบนผืนแผ่นดินใหญ่ และบนฝั่งไอโอเนียมีลักษณะเป็นสังคมเมืองมาตั้งแต่แรก เหตุผลและความพอใจต่อความสุขทางวัตถุมีมาโดยตลอด มิได้เป็นสังคมแบบเผ่า มีความเจริญ มีเสรีภาพทั้งทางปัญญาและวัตถุ ที่รัฐแถบไอโอเนียนั้น คนมีความเจริญทางปัญญาถึงขั้นที่สนใจถามปัญหาซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต มนุษย์โดยตรง เช่น เรื่องธรรมชาติของจักรวาล ต้นกำเนิดของจักรวาล ความแปรเปลี่ยน เป็นต้น ส่วนในด้านการดำเนินชีวิตของมนุษย์ก็มีปรัชญาของไพธากอรัส ซึ่งเป็นชางไอโอเนียจากเกาะซามอส เป็นหลักก่อนที่จะถึงคำสอนของโสเกรตีส (Socratis) ชาวเอเธนส์เรา มักรู้จักไพธากอรัส ในฐานะเป็นนักคณิตศาสตร์ แต่ที่จริงแล้วไพธากอรัสและพวกถือว่าความรู้ทางคณิตศาสตร์ คือ ความรู้เกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์ของจักรวาล และได้ใช้ความรู้นี้อธิบายทั้งเรื่องธรรมชาติ จริยธรรมและการเมือง เช่น ความยุติธรรม คือ จำนวนที่คูณตัวมันเอง หรือกำลังสอง เพราะกำลังสองเป็นเลขจำนวนที่สมดุลที่สุด เนื่องจากประกอบขึ้นเป็นส่วนประกอบที่เท่า ๆ กันทุกส่วน ดังนั้น เมื่อความยุติธรรมเป็นจำนวนยกกำลังสองเพราะเหตุว่าทุกส่วนเท่ากัน รัฐที่ยุติธรรมจึงต้องเป็นรัฐที่ทุกส่วนเท่ากันหรือเสมอภาคกัน นั่นคือ แนวคิดเรื่องความยุติธรรมอธิบายได้ด้วยแนวคิดเรื่องความเสมอภาค เช่น การแบ่งผลประโยชน์จากฝ่ายที่ได้มากไปเพิ่มให้แก่ฝ่ายที่ได้น้อย เป็นต้น นอกจากความเท่าเทียมกันแล้ว เราจะเห็นว่า ความยุติธรรมในแง่นี้เกิดจากการปรับ ซึ่งเพลโตได้นำความคิดนี้ไปใช้ แต่ไม่ใช่ในลักษณะที่ปรับให้สมาชิกของรัฐทุกคนเท่าเทียมกัน แต่ปรับให้สมาชิกทุกคนได้สิ่งที่เหมาะสมแก่ธรรมชาติของตน และในเรื่องธรรมชาติของคน เพลโตก็ยังปรับเรื่องการแบ่งคนเป็น ๓ พวก คือ พวกรักปัญญา พวกรักเกียรติ และพวกรักผลประโยชน์ มาจากคำสอนของพวกไพธากอรัสด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: