ตามประวัติกล่าวว่า พระแก้วมรกตพระองค์นี้ เทวดาสร้างถวายพระอรหันต์องค์ห การแปล - ตามประวัติกล่าวว่า พระแก้วมรกตพระองค์นี้ เทวดาสร้างถวายพระอรหันต์องค์ห ไทย วิธีการพูด

ตามประวัติกล่าวว่า พระแก้วมรกตพระอง


ตามประวัติกล่าวว่า พระแก้วมรกตพระองค์นี้ เทวดาสร้างถวายพระอรหันต์องค์หนึ่ง มีนามว่า พระนาคเสนเถระ แห่งเมืองปาตลีบุตร ในอินเดีย พระนาคเสน ได้อธิษฐานอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุ ของสมเด็จพระสัมมนาสัมพุทธเจ้า ให้ประดิษฐานอยู่ในองค์พระแก้วมรกต ๗ พระองค์ คือ ในพระโมฬี พระนลาฏ พระอุระ พระอังสาทั้ง ๒ ข้าง พระชานุทั้ง ๒ ข้าง ต่อมาพระแก้วมรกตได้ตกไปอยู่ที่เมืองลังกา เมืองกัมโพชา เมืองศรีอยุธยา เมืองละโว้ เมืองกำแพงเพชร และเมืองเชียงราย ตามลำดับ เจ้าเมืองเชียงรายได้เอาปูนทาแล้วลงรักปิดทอง นำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่เมืองเชียงราย เพื่อซ่อนเร้นจากศัตรู

เมื่อ พ.ศ. ๑๙๗๙ เกิดฟ้าผ่าที่องค์เจดีย์ ชาวเมืองได้เห็นพระพุทธรูปปิดทองปรากฎอยู่ คิดว่าเป็นพระพุทธรูปศิลาทั่วไป จึงได้อัญเชิญไปไว้ในวิหารในวัดแห่งหนึ่ง ต่อมาปูนที่ลงรักปิดทองได้กะเทาะออกที่ปลายพระนาสิก เห็นเป็นเนื้อแก้วสีเขียว จึงได้แกะปูนออกทั้งองค์ จึงพบว่าเป็นพระพุทธรูปแก้วทึบทั้งองค์ ผู้คนจึงพากันไปนมัสการ พระเจ้าสามฝั่งแกน เจ้าเมืองเชียงใหม่ จึงจัดกระบวนไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาเชียงใหม่ แต่ช้างที่ใช้อัญเชิญได้หันเหไปทางลำปางถึงสามครั้ง จึงต้องยอมให้อัญเชิญไปประดิษฐานที่ นครลำปางถึง ๓๒ ปี ที่วัดพระแก้ว ยังปรากฎอยู่ถึงปัจจุบันนี้

เมื่อ พ.ศ. ๒๐๑๑ พระเจ้าติโลกราชครองเมืองเชียงใหม่ ได้อัญเชิญพระแก้วมรกต มาประดิษฐานที่เมืองเชียงใหม่ เป็นเวลา ๘๔ ปี ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๔ พระเจ้าไชยเชษฐา โอรสพระเจ้าโพธิสาร ซึ่งเป็นพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้ครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากพระอัยกา ครั้นเมื่อพระเจ้าโพธิสารทิวงคต ทางกรุงศรีสัตนาคนหุต จึงเชิญพระเจ้าไชยเชษฐา กลับไปเมืองหลวงพระบาง จึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วย เมื่อ พ.ศ. ๒๐๙๕ และได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองหลวงพระบาง ๑๒ ปี ต่อมาเมื่อ พ.ศ. ๒๑๐๗ ได้ย้ายราชธานีไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์ และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วย พระแก้วมรกต ได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์อีก ๒๑๔ ปี

เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ขณะที่ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ยกกองทัพ ไปตีได้เมืองเวียงจันทน์ และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตพร้อมกับพระบาง มายังกรุงธนบุรี ได้ประดิษฐานไว้ ณ โรงพระแก้วในบริเวณพระราชวังเดิม ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ฯ ได้ครองราชย์ที่กรุงรัตนโกสินทร์

เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ ได้ทรงโปรดให้ประดิษฐานพระแก้วมรกต ในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๗
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ตามประวัติกล่าวว่าพระแก้วมรกตพระองค์นี้เทวดาสร้างถวายพระอรหันต์องค์หนึ่งมีนามว่าพระนาคเสนเถระแห่งเมืองปาตลีบุตรในอินเดียพระนาคเสนได้อธิษฐานอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมนาสัมพุทธเจ้าให้ประดิษฐานอยู่ในองค์พระแก้วมรกต ๗ พระองค์คือในพระโมฬีพระนลาฏพระอุระพระอังสาทั้ง ๒ ข้างพระชานุทั้ง ๒ ข้างต่อมาพระแก้วมรกตได้ตกไปอยู่ที่เมืองลังกาเมืองกัมโพชาเมืองศรีอยุธยาเมืองละโว้เมืองกำแพงเพชรและเมืองเชียงรายตามลำดับเจ้าเมืองเชียงรายได้เอาปูนทาแล้วลงรักปิดทองนำไปบรรจุไว้ในพระเจดีย์ที่เมืองเชียงรายเพื่อซ่อนเร้นจากศัตรูเมื่อพ.ศ. ๑๙๗๙ เกิดฟ้าผ่าที่องค์เจดีย์ชาวเมืองได้เห็นพระพุทธรูปปิดทองปรากฎอยู่คิดว่าเป็นพระพุทธรูปศิลาทั่วไปจึงได้อัญเชิญไปไว้ในวิหารในวัดแห่งหนึ่งต่อมาปูนที่ลงรักปิดทองได้กะเทาะออกที่ปลายพระนาสิกเห็นเป็นเนื้อแก้วสีเขียวจึงได้แกะปูนออกทั้งองค์จึงพบว่าเป็นพระพุทธรูปแก้วทึบทั้งองค์ผู้คนจึงพากันไปนมัสการพระเจ้าสามฝั่งแกนเจ้าเมืองเชียงใหม่จึงจัดกระบวนไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาเชียงใหม่แต่ช้างที่ใช้อัญเชิญได้หันเหไปทางลำปางถึงสามครั้งจึงต้องยอมให้อัญเชิญไปประดิษฐานที่นครลำปางถึง ๓๒ ปีที่วัดพระแก้วยังปรากฎอยู่ถึงปัจจุบันนี้เมื่อพ.ศ. ๒๐๑๑ พระเจ้าติโลกราชครองเมืองเชียงใหม่ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่เมืองเชียงใหม่เป็นเวลา ๘๔ ปีต่อมาเมื่อพ.ศ. ๒๐๙๔ พระเจ้าไชยเชษฐาโอรสพระเจ้าโพธิสารซึ่งเป็นพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้ครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากพระอัยกาครั้นเมื่อพระเจ้าโพธิสารทิวงคตทางกรุงศรีสัตนาคนหุตจึงเชิญพระเจ้าไชยเชษฐากลับไปเมืองหลวงพระบางจึงได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยเมื่อพ.ศ. ๒๐๙๕ และได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองหลวงพระบาง ๑๒ ปีต่อมาเมื่อพ.ศ. ๒๑๐๗ ได้ย้ายราชธานีไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพระแก้วมรกตได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์อีก ๒๑๔ ปีเมื่อพ.ศ. ๒๓๒๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขณะที่ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ยกกองทัพไปตีได้เมืองเวียงจันทน์และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตพร้อมกับพระบางมายังกรุงธนบุรีได้ประดิษฐานไว้ณโรงพระแก้วในบริเวณพระราชวังเดิมต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ได้ครองราชย์ที่กรุงรัตนโกสินทร์เมื่อพ.ศ. ๒๓๒๕ ได้ทรงโปรดให้ประดิษฐานพระแก้วมรกตในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อพ.ศ. ๒๓๒๗
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ตามประวัติกล่าวว่าพระแก้วมรกตพระองค์นี้ เทวดาสร้างถวายพระอรหันต์องค์หนึ่งมีนามว่าพระนาคเสนเถระแห่งเมืองปาตลีบุตรในอินเดียพระนาคเสนได้อธิษฐานอาราธนาพระบรมสารีริกธาตุของสมเด็จพระสัมมนาสัมพุทธเจ้าให้ประดิษฐานอยู่ในองค์พระ แก้วมรกต 7 พระองค์คือในพระโมฬีพระนลาฏพระ อุระพระอังสาทั้ง 2 ข้างพระชานุทั้ง 2 ข้างต่อมาพระแก้วมรกตได้ตกไป อยู่ที่เมืองลังกาเมืองกัมโพชาเมืองศรีอยุธยาเมืองละโว้เมืองกำแพงเพชรและเมืองเชียงรายตามลำดับเจ้าเมืองเชียงราย เอาปูนได้ทาแล้วลงรักปิดทองนำไปบรรจุไว้ในห้างหุ้นส่วนจำกัดที่คุณพระเจดีย์ที่เมืองเชียงรายเพื่อซ่อนเร้นจากเนชั่ศัตรู

เมื่อ พ.ศ. 1979 เกิดฟ้าผ่าที่องค์เจดีย์ชาวเมืองได้ เห็นพระพุทธรูปปิดทองปรากฎอยู่คิดว่าเป็นพระพุทธรูปศิลาทั่วไปจึงได้อัญเชิญไปไว้ในวิหารในวัดแห่งหนึ่งต่อมาปูนที่ลงรักปิดทองได้กะเทาะออกที่ปลายพระนาสิกเห็น เป็นเนื้อแก้วสีเขียวจึงได้แกะ ปูนออกทั้งองค์จึงพบว่าเป็นพระพุทธรูปแก้วทึบทั้งองค์ผู้คนจึงพากันไปนมัสการพระเจ้าสามฝั่งแกนเจ้าเมืองเชียงใหม่จึงจัดกระบวนไปอัญเชิญพระแก้วมรกตมาเชียงใหม่ แต่ช้างที่ใช้อัญเชิญ ได้หันเหไปทางลำปางถึงสามครั้ง จึงต้องยอมให้อัญเชิญไปประดิษฐานที่นครลำปางถึง 32 ที่วัดปีที่คุณพระคุณแก้วยังปรากฎขณะนี้ถึงปัจจุบันนี้

เมื่อ พ.ศ. 2011 พระเจ้าติโลกราชครองเมืองเชียงใหม่ได้ อัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดิษฐานที่เมืองเชียงใหม่เป็นเวลา 84 ปีต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2094 พระเจ้าไชยเชษฐาโอรสพระเจ้าโพธิสารซึ่ง เป็นพระเจ้ากรุงศรีสัตนาคนหุต (เวียงจันทน์) ได้ครองเมืองเชียงใหม่ต่อจากพระอัยกา ครั้นเมื่อพระเจ้าโพธิสารทิวงคตทางกรุงศรีสัตนาคนหุตจึงเชิญพระเจ้าไชยเชษฐากลับไปเมืองหลวงพระบางจึง ได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยเมื่อ พ.ศ. 2095 และได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองหลวงพระบาง 12 ปีต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2107 ได้ย้ายราชธานีไปอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์ และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตไปด้วยพระแก้วมรกตได้ประดิษฐานอยู่ที่เมืองเวียงจันทน์อีก 214 ปี

เมื่อ พ.ศ. 2321 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ขณะที่ทรงดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ยกกองทัพไปตีได้เมืองเวียงจันทน์และได้อัญเชิญพระแก้วมรกตพร้อมกับพระบางมายังกรุงธนบุรีได้ประดิษฐานไว้ ณ โรงพระแก้วในบริเวณพระราชวังเดิม เมื่อมาต่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ได้ครองราชย์ที่กรุงรัตนโกสินทร์

เมื่อ พ.ศ. 2325 ได้ทรงโปรดให้ประดิษฐานพระแก้วมรกตใน พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามเมื่อ พ.ศ. 2327
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: