การแสดงฟ้อนรำล้านนา  การฟ้อนรำเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของล้านนา ที่แสดง การแปล - การแสดงฟ้อนรำล้านนา  การฟ้อนรำเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของล้านนา ที่แสดง ไทย วิธีการพูด

การแสดงฟ้อนรำล้านนา  การฟ้อนรำเป็นเ

การแสดงฟ้อนรำล้านนา
  การฟ้อนรำเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของล้านนา ที่แสดงออกถึงลักษณะนิสัยความอ่อนน้อม และละมุนละไมในการดำเนินชีวิตภายใต้ความเชื่อ ความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา

ฟ้อนล้านนา มีต้นกำเนิดมาจากการร่ายรำเพื่อประกอบพิธีกรรม ให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกิดความพึงพอใจ ท่วงท่าการรำแต่ดั้งเดิม ไม่มีแบบแผน แต่แสดงออกมาจากความปลื้มปิติยินดี มีความสุขสนุกสนานเจือปนอยู่ เช่น ฟ้อนผี ฟ้อนแห่ครัวทาน เป็นต้น ต่อมาในราวรัชกาลที่ 6 พระราชชายาเจ้าดารารัศมีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระธิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ ได้รวมท่าฟ้อนรำพื้นเมืองมาเรียบเรียงให้มีแบบแผน และกลายเป็นชุดฟ้อนที่รู้จักกันในปัจจุบัน ศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแสดงเหล่านี้ จึงได้นำมาเป็นการแสดงสำหรับนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ยังมีฟ้อนรำของท้องถิ่นอื่นๆ ในล้านนาด้วย มีทั้งหมด 13 การแสดงดังนี้

1.ฟ้อนเล็บ

เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของนาฏศิลป์ล้านนา ซึ่งมักจะแสดงในโอกาสพิเศษเพื่อต้อนรับแขกผู้มีเกียรติหรือฟ้อนสมโภชในทางพุทธศาสนา ท่าเดินของฟ้อนเล็บนี้ถือกันว่าได้เลียนแบบมาจากการเยื้องย่างของช้าง แต่เดิมการฟ้อนเล็บนี้ไม่มีท่ารำเฉพาะแน่นอน พระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5 ได้ทรงโปรดปรับปรุงแก้ไขให้สวยงามและมีท่ารำเฉพาะแน่นอน

2.ฟ้อนดาบ

เป็นการแสดงศิลปะอย่างหนึ่งที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ป้องกันตัว เป็นการแสดงชั้นเชิงของการต่อสู้รวมกับท่าฟ้อนที่สวยงาม

3.ฟ้อนสาวไหม

เป็นการฟ้อนพื้นเมืองที่เลียนแบบมาจากการทอผ้าไหมของชาวบ้าน การฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนรำแบบเก่า เป็นท่าหนึ่งของฟ้อนเจิงซึ่งอยู่ในชุดเดียวกับการฟ้อนดาบ ลีลาการฟ้อนเป็นจังหวะที่คล่องแคล่วและรวดเร็ว (สะดุดเป็นช่วง ๆ เหมือนการทอผ้าด้วยกี่กระตุก)

ประมาณปี พ.ศ. 2500 คุณบัวเรียว รัตนมณีกรณ์ ได้คิดท่ารำขึ้นมาโดยอยู่ภายใต้การแนะนำของบิดา ท่ารำนี้ได้เน้นถึงการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องและนุ่มนวล ซึ่งเป็นท่าที่เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เส้นไหมพันกันในปี พ.ศ. 2507 คุณพลอยศรี สรรพศรี ช่างฟ้อนเก่าในวังของเจ้าเชียงใหม่องค์สุดท้าย (เจ้าแก้วนวรัฐ) ได้ร่วมกับคุณบัวเรียวขัดเกลาท่ารำขึ้นใหม่ ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 คณะอาจารย์วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ ได้คิดท่ารำขึ้นมาเป็นแบบฉบับของวิทยาลัยเอง การฟ้อนของทางศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่เป็นการรวบรวมท่ารำที่สวยงามของทั้งสองฝ่ายเข้าด้วยกัน

4.ระบำไก่

เป็นระบำชุดหนึ่งจากละครเรื่องพระลอตามไก่ เป็นการร่ายรำของบริวารของไก่แก้ว พระราชชายาได้ทรงคิดท่ารำขึ้นเนื่องในโอกาสฉลองกู่ (ที่บรรจุอัฐิ) ของเจ้านายเมืองเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2452 ที่ท่านทรงนำมารวบรวมไว้ที่วัดสวนดอก จากงานพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงประทานให้แก่ท่าน

5.ฟ้อนเงี้ยว

เป็นการฟ้อนของเมืองเหนือ ที่ได้ดัดแปลงมากจากการละเล่นของไทยใหญ่ (เงี้ยว) ต่อมาครูช่างฟ้อนในคุ้มหลวงเชียงใหม่ได้ปรับปรุงแก้ไขให้สวยงามขึ้น

6.ระบำซอ

ได้ถูกแต่งและประดิษฐ์จากครูเพลงและครูช่างฟ้อนในคุ้มของเจ้าดารารัศมีในปี พ.ศ. 2470 ใช้ฟ้อนในโอกาสที่ถวายต้อนรับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเชียงใหม่ และในโอกาสสมโภชน์ช้างเผือกซึ่งน้อมเกล้าฯถวายให้ท่าน การแต่งกายเป็นชุดกระเหรี่ยง

7.ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา

เป็นการฟ้อนผสมระหว่างการฟ้อนในราชสำนักพม่าและรำไทยพระราชชายาเจ้าดารารัศมีได้ทรงให้ครูช่างฟ้อนชาวพม่าและครูช่างฟ้อนในวังของท่านคิดท่ารำขึ้นมาระหว่างปี พ.ศ. 2458-2469 เครื่องแต่งกายเป็นแบบหญิงในราชสำนักพม่า ราชวงศ์คองบอง

8.ฟ้อนลื้อ

การฟ้อนนี้เดิมเป็นการฟ้อนของชาวไทยลื้อ หมู่บ้านหนองบัว อำเภอท่าวังผา จังหวัดน่าน บรรพบุรุษของชาวไทยลื้อนี้เดิมเป็นพวกอพยพสงครามจากแคว้นสิบสองปันนาในมณฑลยูนานของจีน ชาวไทยลื้อเหล่านี้หลบหนีการต่อสู้ระหว่างพระเจ้าสิบสองปันนาและหลานชายซึ่งสู้รบกันในระหว่างปี พ.ศ.2365-2366 แตกต่างจากบรรพบุรุษของชาวไทยลื้อกลุ่มอื่นในทางตอนเหนือของประเทศไทยซึ่งอพยพมาก่อนหน้านี้ประมาณ 22 ปี ในฐานะเชลยสงคราม บางพวกก็ถูกชักชวนให้มาตั้งถิ่นฐานใหม่

9.ฟ้อนโยคีถวายไฟ

เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2454-2482) เจ้าครองเมืองเชียงใหม่องค์สุดท้ายได้ทรงให้นักดนตรีในวังของท่านและครูช่างฟ้อนชาวพม่าร่วมกันคิดท่ารำและบทเพลงขึ้นมาในโอกาสเสด็จประพาสเชียงใหม่ของกรมพระนครสวรรค์วรพินิจ โอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปี พ.ศ. 2465 ท่ารำได้ดัดแปลงมาจากท่าฤาษีดัดตน เดิมเป็นการแสดงของผู้ชาย ในปี พ.ศ. 2477 ได้เปลี่ยนให้เป็นท่ารำของผู้หญิง เนื่องจากช่างฟ้อนผู้ชายหายาก

10.ฟ้อนน้อยใจยา

เป็นฉากหนึ่งของละครเพลงชื่อเดียวกัน ได้แต่งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 โดยท้าวสุนทรโวหาร ถวายแก่เจ้าดารารัศมีในวันเกิดของท่าน ต่อมาเจ้าดารารัศมีได้ขัดเกลาบางตอนของละครและแต่งเพลงน้อยใจยาขึ้น ฉากนี้แสดงถึงน้อยใจยาชายหนุ่มผู้ยากจนได้ตัดพ้อต่อว่าแว่นแก้วสาวงามแห่งหมู่บ้าน ซึ่งจะแต่งงานกับส่างนันตาชายหนุ่มผู้ร่ำรวยแต่หน้าตาอัปลัษณ์ของอีกหมู่บ้านหนึ่ง แว่นแก้วบอกน้อยใจยาว่าเรื่องทั้งหมดนี้ไม่ใช่ความผิดของเธอ แต่เป็นความเห็นชอบของบิดามารดาและได้ยืนยันความรักของเธอที่มีต่อเขา หลังจากปรับความเข้าใจกันแล้วก็พากันหนีไป

11.ฟ้อนเทียน

ใช้ฟ้อนในเวลากลางคืน ไม่สวมเล็บ แต่ถือเทียนสองข้างประกอบการฟ้อนพระราชชายาฯได้ทรงปรับปรุงขึ้นจากการฟ้อนเล็บ เพื่อจะฟ้อนรับเสด็จรัชกาลที่ 7 ในคราวเสด็จประพาสเชียงใหม่ พ.ศ. 2469

12.ฟ้อนไต

ไตคือชื่อที่คนไทยใหญ่เรียกตัวเอง คนไทยใหญ่นี้นอกจากจะอาศัยอยู่ในรัฐฉาน ประเทศเมียนมาร์แล้วยังอาศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนด้วย ฟ้อนไตได้ถูกคิดท่ารำโดยครูแก้วและนางละหยิ่น ทองเขียวผู้เป็นภรรยา ผู้ซึ่งเป็นคนไทยใหญ่ด้วย โดยในระหว่าง พ.ศ. 2483-97 ขณะที่ นางละหยิ่นได้อาศัยที่เชียงใหม่กับครูแก้ว นางได้เห็นการแสดงฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตาและได้ประทับใจมาก เมื่อนางกับครูแก้วกลับไปอยู่แม่ฮ่องสอนแล้ว จึงได้คิดท่ารำของฟ้อนไตขึ้นจากท่ารำของรำไทย พม่า และฟ้อนเชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2500

13.รำวง

เกิดจากรำโทนของนครพนมและได้แพร่หลายไปยังภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย ต่อมาจอมพล ป.พิบูลสงครามได้มีคำสั่งให้ก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การแสดงฟ้อนรำล้านนา การฟ้อนรำเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของล้านนาที่แสดงออกถึงลักษณะนิสัยความอ่อนน้อมและละมุนละไมในการดำเนินชีวิตภายใต้ความเชื่อความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนา ฟ้อนล้านนามีต้นกำเนิดมาจากการร่ายรำเพื่อประกอบพิธีกรรมให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกิดความพึงพอใจท่วงท่าการรำแต่ดั้งเดิมไม่มีแบบแผนแต่แสดงออกมาจากความปลื้มปิติยินดีมีความสุขสนุกสนานเจือปนอยู่เช่นฟ้อนผีฟ้อนแห่ครัวทานเป็นต้นต่อมาในราวรัชกาล6 พระราชชายาเจ้าดารารัศมีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระธิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้รวมท่าฟ้อนรำพื้นเมืองมาเรียบเรียงให้มีแบบแผนและกลายเป็นชุดฟ้อนที่รู้จักกันในปัจจุบันศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแสดงเหล่านี้จึงได้นำมาเป็นการแสดงสำหรับนักท่องเที่ยวนอกจากนี้ยังมีฟ้อนรำของท้องถิ่นอื่น ๆ ในล้านนาด้วยมีทั้งหมด 13 การแสดงดังนี้1.ฟ้อนเล็บ เป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของนาฏศิลป์ล้านนาซึ่งมักจะแสดงในโอกาสพิเศษเพื่อต้อนรับแขกผู้มีเกียรติหรือฟ้อนสมโภชในทางพุทธศาสนาท่าเดินของฟ้อนเล็บนี้ถือกันว่าได้เลียนแบบมาจากการเยื้องย่างของช้างแต่เดิมการฟ้อนเล็บนี้ไม่มีท่ารำเฉพาะแน่นอนพระราชชายาเจ้าดารารัศมีในรัชกาลที่ 5 ได้ทรงโปรดปรับปรุงแก้ไขให้สวยงามและมีท่ารำเฉพาะแน่นอน 2.ฟ้อนดาบ เป็นการแสดงศิลปะอย่างหนึ่งที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ป้องกันตัวเป็นการแสดงชั้นเชิงของการต่อสู้รวมกับท่าฟ้อนที่สวยงาม 3.ฟ้อนสาวไหม เป็นการฟ้อนพื้นเมืองที่เลียนแบบมาจากการทอผ้าไหมของชาวบ้านการฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนรำแบบเก่าเป็นท่าหนึ่งของฟ้อนเจิงซึ่งอยู่ในชุดเดียวกับการฟ้อนดาบลีลาการฟ้อนเป็นจังหวะที่คล่องแคล่วและรวดเร็ว (สะดุดเป็นช่วงๆ เหมือนการทอผ้าด้วยกี่กระตุก) ประมาณปีพ.ศ. 2500 คุณบัวเรียวรัตนมณีกรณ์ได้คิดท่ารำขึ้นมาโดยอยู่ภายใต้การแนะนำของบิดาท่ารำนี้ได้เน้นถึงการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องและนุ่มนวลซึ่งเป็นท่าที่เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เส้นไหมพันกันในปีพ.ศ. 2507 คุณพลอยศรีสรรพศรีช่างฟ้อนเก่าในวังของเจ้าเชียงใหม่องค์สุดท้าย (เจ้าแก้วนวรัฐ) ได้ร่วมกับคุณบัวเรียวขัดเกลาท่ารำขึ้นใหม่ต่อมาในปีพ.ศ. 2520 คณะอาจารย์วิทยาลัยนาฏศิลป์เชียงใหม่ได้คิดท่ารำขึ้นมาเป็นแบบฉบับของวิทยาลัยเองการฟ้อนของทางศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่เป็นการรวบรวมท่ารำที่สวยงามของทั้งสองฝ่ายเข้าด้วยกัน 4.ระบำไก่ เป็นระบำชุดหนึ่งจากละครเรื่องพระลอตามไก่เป็นการร่ายรำของบริวารของไก่แก้วพระราชชายาได้ทรงคิดท่ารำขึ้นเนื่องในโอกาสฉลองกู่ (ที่บรรจุอัฐิ) ของเจ้านายเมืองเชียงใหม่ในปีพ.ศ. 2452 ที่ท่านทรงนำมารวบรวมไว้ที่วัดสวนดอกจากงานพระนิพนธ์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ที่รัชกาลที่ 5 ทรงประทานให้แก่ท่าน 5.ฟ้อนเงี้ยว เป็นการฟ้อนของเมืองเหนือต่อมาครูช่างฟ้อนในคุ้มหลวงเชียงใหม่ได้ปรับปรุงแก้ไขให้สวยงามขึ้นที่ได้ดัดแปลงมากจากการละเล่นของไทยใหญ่ (เงี้ยว) 6.ระบำซอ ได้ถูกแต่งและประดิษฐ์จากครูเพลงและครูช่างฟ้อนในคุ้มของเจ้าดารารัศมีในปีพ.ศ. 2470 ใช้ฟ้อนในโอกาสที่ถวายต้อนรับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสเชียงใหม่และในโอกาสสมโภชน์ช้างเผือกซึ่งน้อมเกล้าฯถวายให้ท่านการแต่งกายเป็นชุดกระเหรี่ยง 7.ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา เป็นการฟ้อนผสมระหว่างการฟ้อนในราชสำนักพม่าและรำไทยพระราชชายาเจ้าดารารัศมีได้ทรงให้ครูช่างฟ้อนชาวพม่าและครูช่างฟ้อนในวังของท่านคิดท่ารำขึ้นมาระหว่างปีพ.ศ. 2458-2469 เครื่องแต่งกายเป็นแบบหญิงในราชสำนักพม่าราชวงศ์คองบอง 8.ฟ้อนลื้อ การฟ้อนนี้เดิมเป็นการฟ้อนของชาวไทยลื้อหมู่บ้านหนองบัวอำเภอท่าวังผาจังหวัดน่านบรรพบุรุษของชาวไทยลื้อนี้เดิมเป็นพวกอพยพสงครามจากแคว้นสิบสองปันนาในมณฑลยูนานของจีนชาวไทยลื้อเหล่านี้หลบหนีการต่อสู้ระหว่างพระเจ้าสิบสองปันนาและหลานชายซึ่งสู้รบกันในระหว่างปีแตกต่างจากบรรพบุรุษของชาวไทยลื้อกลุ่มอื่นในทางตอนเหนือของประเทศไทยซึ่งอพยพมาก่อนหน้านี้ประมาณ พ.ศ.2365-2366 22 ปีในฐานะเชลยสงครามบางพวกก็ถูกชักชวนให้มาตั้งถิ่นฐานใหม่ 9.ฟ้อนโยคีถวายไฟ เจ้าแก้วนวรัฐ (พ.ศ. 2454-2482) เจ้าครองเมืองเชียงใหม่องค์สุดท้ายได้ทรงให้นักดนตรีในวังของท่านและครูช่างฟ้อนชาวพม่าร่วมกันคิดท่ารำและบทเพลงขึ้นมาในโอกาสเสด็จประพาสเชียงใหม่ของกรมพระนครสวรรค์วรพินิจโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในปีพ.ศ. 2465 ท่ารำได้ดัดแปลงมาจากท่าฤาษีดัดตนเดิมเป็นการแสดงของผู้ชายในปีพ.ศ. 2477 ได้เปลี่ยนให้เป็นท่ารำของผู้หญิงเนื่องจากช่างฟ้อนผู้ชายหายาก 10.ฟ้อนน้อยใจยา เป็นฉากหนึ่งของละครเพลงชื่อเดียวกันได้แต่งขึ้นในปีพ.ศ. 2464 โดยท้าวสุนทรโวหารถวายแก่เจ้าดารารัศมีในวันเกิดของท่านต่อมาเจ้าดารารัศมีได้ขัดเกลาบางตอนของละครและแต่งเพลงน้อยใจยาขึ้นฉากนี้แสดงถึงน้อยใจยาชายหนุ่มผู้ยากจนได้ตัดพ้อต่อว่าแว่นแก้วสาวงามแห่งหมู่บ้านซึ่งจะแต่งงานกับส่างนันตาชายหนุ่มผู้ร่ำรวยแต่หน้าตาอัปลัษณ์ของอีกหมู่บ้านหนึ่งแว่นแก้วบอกน้อยใจยาว่าเรื่องทั้งหมดนี้ไม่ใช่ความผิดของเธอแต่เป็นความเห็นชอบของบิดามารดาและได้ยืนยันความรักของเธอที่มีต่อเขาหลังจากปรับความเข้าใจกันแล้วก็พากันหนีไป 11.ฟ้อนเทียน ใช้ฟ้อนในเวลากลางคืนไม่สวมเล็บแต่ถือเทียนสองข้างประกอบการฟ้อนพระราชชายาฯได้ทรงปรับปรุงขึ้นจากการฟ้อนเล็บเพื่อจะฟ้อนรับเสด็จรัชกาลที่ 7 ในคราวเสด็จประพาสเชียงใหม่พ.ศ. 2469 12.ฟ้อนไต ไตคือชื่อที่คนไทยใหญ่เรียกตัวเองคนไทยใหญ่นี้นอกจากจะอาศัยอยู่ในรัฐฉานประเทศเมียนมาร์แล้วยังอาศัยอยู่ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนด้วยฟ้อนไตได้ถูกคิดท่ารำโดยครูแก้วและนางละหยิ่นทองเขียวผู้เป็นภรรยาผู้ซึ่งเป็นคนไทยใหญ่ด้วยโดยในระหว่างพ.ศ. 2483-97 ขณะที่นางละหยิ่นได้อาศัยที่เชียงใหม่กับครูแก้วนางได้เห็นการแสดงฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตาและได้ประทับใจมากเมื่อนางกับครูแก้วกลับไปอยู่แม่ฮ่องสอนแล้วจึงได้คิดท่ารำของฟ้อนไตขึ้นจากท่ารำของรำไทยพม่าและฟ้อนเชียงใหม่ในปีพ.ศ. 2500 13.รำวง เกิดจากรำโทนของนครพนมและได้แพร่หลายไปยังภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย ต่อมาจอมพล ป.พิบูลสงครามได้มีคำสั่งให้ก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ท่วงท่าการรำ แต่ดั้งเดิมไม่มีแบบแผน แต่ แสดงออกมาจากความปลื้มปิติยินดีมีความสุขสนุกสนานเจือปนอยู่เช่นฟ้อนผีฟ้อนแห่ครัวทานเป็นต้นต่อมาในราวรัชกาลที่ 6 พระธิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์ เจ้าเมืองเชียงใหม่ ในล้านนาด้วยมีทั้งหมด 13 พระราชชายาเจ้าดารารัศมีในรัชกาล ที่ 5 การฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนรำแบบ เก่า (สะดุดเป็นช่วง ๆ พ.ศ. 2500 คุณบัวเรียวรัตนมณีกรณ์ พ.ศ. 2507 คุณพลอยศรีสรรพศรี (เจ้าแก้วนวรัฐ) ต่อมาในปี พ.ศ. 2520 เป็นการร่ายรำของบริวารของไก่แก้ว (ที่บรรจุอัฐิ) ของเจ้านายเมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ. 2452 5 (เงี้ยว) พ.ศ. 2470 เสด็จประพาสเชียงใหม่ พ.ศ. 2458-2469 หมู่บ้านหนองบัวอำเภอท่าวังผาจังหวัดน่าน พ.ศ. 2365-2366 22 ปีในฐานะเชลยสงคราม ( พ.ศ. 2454-2482) พ.ศ. 2465 ท่ารำได้ดัดแปลงมาจากท่าฤาษี ดัดตนเดิมเป็นการแสดงของผู้ชายในปี พ.ศ. 2477 ได้เปลี่ยนให้เป็นท่ารำของผู้หญิง ได้แต่งขึ้นในปี พ.ศ. 2464 โดยท้าวสุนทรโวหาร ไม่สวมเล็บ เพื่อจะฟ้อนรับเสด็จรัชกาลที่ 7 ในคราวเสด็จประพาสเชียงใหม่ พ.ศ. ทองเขียวผู้เป็นภรรยาผู้ซึ่งเป็น คนไทยใหญ่ด้วยโดยในระหว่าง พ.ศ. 2483-97 ขณะที่ พม่าและฟ้อนเชียงใหม่ในปี พ.ศ. ๆ ของประเทศไทยต่อมาจอมพลป. พิบูลสงครามได้มีคำสั่งให้ก
























































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การแสดงฟ้อนรำล้านนาทำไมการฟ้อนรำเป็นเอกลักษณ์อันโดดเด่นของล้านนาที่แสดงออกถึงลักษณะนิสัยความอ่อนน้อมและละมุนละไมในการดำเนินชีวิตภายใต้ความเชื่อความศรัทธาต่อพระพุทธศาสนาฟ้อนล้านนามีต้นกำเนิดมาจากการร่ายรำเพื่อประกอบพิธีกรรมให้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เกิดความพึงพอใจท่วงท่าการรำแต่ดั้งเดิมไม่มีแบบแผนแต่แสดงออกมาจากความปลื้มปิติยินดีมีความสุขสนุกสนานเจือปนอยู่เช่นฟ้อนผีฟ้อนแห่ครัวทานเป็นต้นต่อมาในราวรัชกาลที่ 6 พระราชชายาเจ้ าดารารัศมีในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระธิดาในพระเจ้าอินทวิชยานนท์เจ้าเมืองเชียงใหม่ได้รวมท่าฟ้อนรำพื้นเมืองมาเรียบเรียงให้มีแบบแผนและกลายเป็นชุดฟ้อนที่รู้จักกันในปัจจุบันศูนย์วัฒนธรรมเชียงใหม่เล็งเห็นถึงความสำคัญของการแสดงเหล่านี้จึงไ ด้นำมาเป็นการแสดงสำหรับนักท่องเที่ยวนอกจากนี้ยังมีฟ้อนรำของท้องถิ่นอื่นๆในล้านนาด้วยมีทั้งหมด 13 การแสดงดังนี้1 . ฟ้อนเล็บเป็นเอกลักษณ์ที่สำคัญของนาฏศิลป์ล้านนาซึ่งมักจะแสดงในโอกาสพิเศษเพื่อต้อนรับแขกผู้มีเกียรติหรือฟ้อนสมโภชในทางพุทธศาสนาท่าเดินของฟ้อนเล็บนี้ถือกันว่าได้เลียนแบบมาจากการเยื้องย่างของช้างแต่เดิมการฟ้อนเล็บนี้ไม่มีท่ารำเฉพาะแน่นอนพระราชชายาเจ้าดารารัศมี ในรัชกาลที่ 5 ได้ทรงโปรดปรับปรุงแก้ไขให้สวยงามและมีท่ารำเฉพาะแน่นอน2 . ฟ้อนดาบเป็นการแสดงศิลปะอย่างหนึ่งที่มีลักษณะเกี่ยวข้องกับการต่อสู้ป้องกันตัวเป็นการแสดงชั้นเชิงของการต่อสู้รวมกับท่าฟ้อนที่สวยงาม3 . ฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนพื้นเมืองที่เลียนแบบมาจากการทอผ้าไหมของชาวบ้านการฟ้อนสาวไหมเป็นการฟ้อนรำแบบเก่าเป็นท่าหนึ่งของฟ้อนเจิงซึ่งอยู่ในชุดเดียวกับการฟ้อนดาบลีลาการฟ้อนเป็นจังหวะที่คล่องแคล่วและรวดเร็ว ( สะดุดเป็นช่วงจะเหมือนการทอผ้าด้วยกี่กระตุก )ประมาณปีพ . ศ . 2500 คุณบัวเรียวรัตนมณีกรณ์ได้คิดท่ารำขึ้นมาโดยอยู่ภายใต้การแนะนำของบิดาท่ารำนี้ได้เน้นถึงการเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องและนุ่มนวลซึ่งเป็นท่าที่เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เส้นไหมพันกันในปี
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: