การเขียนบรรยาย (Descriptive writing) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคล ส การแปล - การเขียนบรรยาย (Descriptive writing) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคล ส ไทย วิธีการพูด

การเขียนบรรยาย (Descriptive writing

การเขียนบรรยาย (Descriptive writing) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคล สถานที่ หรือเหตุการณ์ จนกระทั่งผู้อ่านมีภาพของสิ่งนั้นในใจ ผู้เขียนต้องให้รายละเอียดที่ชัดเจน เป็นจริงเป็นจัง จนเสมือนกับการระบายสีภาพสำหรับผู้อ่าน

การเขียนบรรยาย (Descriptive) มีรูปแบบการเขียน คือ รายงานการสังเกตและข้อเขียนเชิงบรรยาย การเขียนประเภทการบรรยายนี้ อาจเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในการเขียนประเภทการเล่าเรื่องและการอธิบายเป็นแบบที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่างว่า ดูเป็นอย่างไร สัมผัสอย่างไร รสเป็นอย่างไร กลิ่นเป็นอย่างไร เพื่อให้ความรู้สึกแก่ผู้อ่าน โดยทั่วไป จึงใช้รายละเอียดของประสาทสัมผัส ข้อเขียนอาจเป็นการบรรยายเป็นรายการ คือให้รายละเอียดจุดต่อจุด หรือบรรยายเป็นเรื่องราว เพื่อให้ผู้อ่านสนใจเค้าโครงเรื่องและแก่นของเรื่องที่บรรยาย เช่น บรรยายถึงต้นไม้ในสวนหลังบ้านของฉัน การไปเยี่ยมผู้ป่วยเด็กในโรงพยาบาล หรือนักกีฬาทำอย่างไรเพื่อไปสู่โอลิมปิก

ความหมายการเขียนบรรยาย
การเขียนบรรยาย เป็นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์ ลำดับเวลา สถานที่ บุคคล ผู้เขียนควรกล่าวถึง เหตุการณ์ให้ชัดเจน โดยมีข้อมูลและเนื้อหาสาระของเรื่องที่จะแสดงความคิด บางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัวละครทำให้ผู้อ่านเข้าใจลักษณะอารมณ์ความคิดของตัวละครและเข้าใจเรื่องทั้งหมด


จุดมุ่งหมายของการเขียนบรรยาย
การเขียนบรรยายใช้แสดงความคิดเห็นได้หลายรูปแบบ เช่น ใช้ในคำประพันธ์แบบเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์ การเขียนชีวประวัติ การเขียนบันทึก การให้ข้อมูล การรายงานข่าว เป็นต้น การเขียนบรรยายเป็นการเขียนเล่าข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของเรื่องตามที่เป็นอยู่โดยคำนึงถึงความต่อเนื่อง



ประเภทของเรื่องที่ใช้วิธีการเขียนบรรยาย
งานเขียนที่ใช้กลวิธีการเขียนบรรยาย แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้
1. อัตชีวประวัติหรือการเล่าประวัติชีวิบุคคลต่างๆ
2. ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
3.เรื่องที่แต่งขึ้นหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น

ประโยชน์ของการเขียนบรรยาย
๑) ทำให้มีความรู้ในวิชาการด้านต่าง ๆ
อาจเป็นความรู้ทั่วไป หรือความรู้เฉพาะด้านก็ได้ เช่น การอ่านตำราแขนงต่าง ๆ หนังสือคู่มือ หนังสืออ่านประกอบในแขนงวิชาต่าง ๆ เป็นต้น
๒) ทำให้รอบรู้ทันโลก ทันเหตุการณ์
การอ่านหนังสือพิมพ์การอ่านจากสื่อสารสนเทศต่าง ๆ ในสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศแล้ว ยังจะได้ทราบข่าวกีฬา ข่าวบันเทิง บทความวิจารณ์ ตลอดจนการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกด้วย ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับความเป็นอยู่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมของตนในขณะนั้น ๆ
๓) ทำให้ค้นหาคำตอบที่ต้องการได้
การอ่านหนังสือจะช่วยตอบคำถามที่เราข้องใจ สงสัย ต้องการรู้ได้ เช่น อ่านพจนานุกรมเพื่อหาความหมายของคำ อ่านหนังสือกฎหมายเมื่อต้องการรู้ข้อปฏิบัติ อ่านหนังสือคู่มือแนะวิธีเรียนเพื่อต้องการประสบความสำเร็จในการเรียน เป็นต้น
๔) ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน
การอ่านหนังสือที่มีเนื้อหาดี น่าอ่าน น่าสนใจ ย่อมทำให้ผู้อ่านมีความสุข ความเพลิดเพลิน เกิดอารมณ์คล้อยตามอารมณ์ของเรื่องนั้น ๆ ผ่อนคลายความตึงเครียด ได้ข้อคิด และยังเป็นการยกระดับจิตใจผู้อ่านให้สูงขึ้นได้อีกด้วย
๕) ทำให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน
ผู้ที่อ่านหนังสือสม่ำเสมอย่อมเกิดความชำนาญในการอ่าน สามารถอ่านได้เร็ว เข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ง่าย จับใจความได้ถูกต้อง เข้าใจประเด็นสำคัญของเรื่อง และสามารถประเมินคุณค่าเรื่องที่อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล
๖) ทำให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตที่สมบูรณ์
ผู้อ่านมากย่อมรู้เรื่องราวต่าง ๆ มาก เกิดความรู้ความคิดที่หลากหลายกว้างไกล สามารถนำมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชีวิตมีคุณค่า และมีระเบียบแบบแผนที่ดียิ่งขึ้น
๗) ทำให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ
ผ่านมากย่อมรอบรู้มาก มีข้อมูลต่างๆ สั่งสมไว้มาก เมื่อสนทนากับผู้อื่นย่อมมีความมั่นใจไม่ขัดเขินเพราะมีภูมิรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้คำแนะนำแก่ผู้อื่นในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้ ผู้รอบรู้จึงมักได้รับการยอมรับและเป็นที่เชื่อถือจากผู้อื่น

ข้อคำนึงในการเขียนบรรยาย
1. หาความรู้หรือรายละเอียดที่จะนำมาเขียน จากการอ่าน การฟัง การดู หรือจากการสอบถาม เพื่อนำข้อมูลที่จะใช้ในการเรียน โดยการจดบันทึกไว้
2. ใช้ภาษาง่ายๆ พยายามอย่าใช้คำศัพท์โดยไม่จำเป็น ถ้าจะใช้ควรใช้วงเล็บความหมายไว้ด้วยเพื่อผู้อ่านได้เข้าใจ
3. กล่าวแต่เรื่องเป็นความจริง เรื่องที่น่าสนใจควรบรรยายอย่างละเอียด
4. เรียบเรียงความคิดให้เป็นลำดับต่อเนื่อง ไม่สับสน
5. อาจมีการยกตัวอย่างเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อเรื่องได้


ข้อสังเกตการเขียนบรรยาย

การเขียนบรรยายกล่าวข้างต้น เป็นการเรียนบรรยายตามความจริง สามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงไม่มีการสอดแทรกอารมณ์หรือความรู้สึกลงไปในงานเขียน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การเขียนบรรยาย (เขียนอธิบาย) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคลสถานที่หรือเหตุการณ์จนกระทั่งผู้อ่านมีภาพของสิ่งนั้นในใจผู้เขียนต้องให้รายละเอียดที่ชัดเจนเป็นจริงเป็นจังจนเสมือนกับการระบายสีภาพสำหรับผู้อ่าน การเขียนบรรยายมีรูปแบบการเขียน (อธิบาย) คือรายงานการสังเกตและข้อเขียนเชิงบรรยายการเขียนประเภทการบรรยายนี้อาจเป็นส่วนหนึ่งอยู่ในการเขียนประเภทการเล่าเรื่องและการอธิบายเป็นแบบที่ให้รายละเอียดเกี่ยวกับบางสิ่งบางอย่างว่าดูเป็นอย่างไรสัมผัสอย่างไรรสเป็นอย่างไรกลิ่นเป็นอย่างไรเพื่อให้ความรู้สึกแก่ผู้อ่านโดยทั่วไปจึงใช้รายละเอียดของประสาทสัมผัสข้อเขียนอาจเป็นการบรรยายเป็นรายการคือให้รายละเอียดจุดต่อจุดหรือบรรยายเป็นเรื่องราวเพื่อให้ผู้อ่านสนใจเค้าโครงเรื่องและแก่นของเรื่องที่บรรยายเช่นบรรยายถึงต้นไม้ในสวนหลังบ้านของฉันการไปเยี่ยมผู้ป่วยเด็กในโรงพยาบาลหรือนักกีฬาทำอย่างไรเพื่อไปสู่โอลิมปิกความหมายการเขียนบรรยาย การเขียนบรรยายเป็นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์ลำดับเวลาสถานที่บุคคลผู้เขียนควรกล่าวถึงเหตุการณ์ให้ชัดเจนโดยมีข้อมูลและเนื้อหาสาระของเรื่องที่จะแสดงความคิดบางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัวละครทำให้ผู้อ่านเข้าใจลักษณะอารมณ์ความคิดของตัวละครและเข้าใจเรื่องทั้งหมดจุดมุ่งหมายของการเขียนบรรยายการเขียนบรรยายใช้แสดงความคิดเห็นได้หลายรูปแบบเช่นใช้ในคำประพันธ์แบบเล่าเรื่องเล่าเหตุการณ์การเขียนชีวประวัติการเขียนบันทึกการให้ข้อมูลการรายงานข่าวเป็นต้นการเขียนบรรยายเป็นการเขียนเล่าข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของเรื่องตามที่เป็นอยู่โดยคำนึงถึงความต่อเนื่องประเภทของเรื่องที่ใช้วิธีการเขียนบรรยาย งานเขียนที่ใช้กลวิธีการเขียนบรรยายแบ่งออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้1. อัตชีวประวัติหรือการเล่าประวัติชีวิบุคคลต่าง ๆ2. ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์3.เรื่องที่แต่งขึ้นหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประโยชน์ของการเขียนบรรยาย๑) ๆ ทำให้มีความรู้ในวิชาการด้านต่าง อาจเป็นความรู้ทั่วไปหรือความรู้เฉพาะด้านก็ได้เช่นการอ่านตำราแขนงต่างๆ หนังสือคู่มือหนังสืออ่านประกอบในแขนงวิชาต่างๆ เป็นต้น ๒) ทำให้รอบรู้ทันโลกทันเหตุการณ์ การอ่านหนังสือพิมพ์การอ่านจากสื่อสารสนเทศต่างๆ ในสังคมทั้งภายในและภายนอกประเทศแล้วยังจะได้ทราบข่าวกีฬาข่าวบันเทิงบทความวิจารณ์ตลอดจนการโฆษณาสินค้าต่างๆ อีกด้วยซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการปรับความเป็นอยู่ให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมของตนในขณะนั้นๆ ๓) ทำให้ค้นหาคำตอบที่ต้องการได้ การอ่านหนังสือจะช่วยตอบคำถามที่เราข้องใจสงสัยต้องการรู้ได้เช่นอ่านพจนานุกรมเพื่อหาความหมายของคำอ่านหนังสือกฎหมายเมื่อต้องการรู้ข้อปฏิบัติอ่านหนังสือคู่มือแนะวิธีเรียนเพื่อต้องการประสบความสำเร็จในการเรียนเป็นต้น ๔) ทำให้เกิดความเพลิดเพลิน การอ่านหนังสือที่มีเนื้อหาดีน่าอ่านน่าสนใจย่อมทำให้ผู้อ่านมีความสุขความเพลิดเพลินเกิดอารมณ์คล้อยตามอารมณ์ของเรื่องนั้นๆ ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ข้อคิดและยังเป็นการยกระดับจิตใจผู้อ่านให้สูงขึ้นได้อีกด้วย ๕) ทำให้เกิดทักษะและพัฒนาการในการอ่าน ผู้ที่อ่านหนังสือสม่ำเสมอย่อมเกิดความชำนาญในการอ่าน สามารถอ่านได้เร็ว เข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ง่าย จับใจความได้ถูกต้อง เข้าใจประเด็นสำคัญของเรื่อง และสามารถประเมินคุณค่าเรื่องที่อ่านได้อย่างสมเหตุสมผล ๖) ทำให้ชีวิตมีพัฒนาการเป็นชีวิตที่สมบูรณ์ ผู้อ่านมากย่อมรู้เรื่องราวต่าง ๆ มาก เกิดความรู้ความคิดที่หลากหลายกว้างไกล สามารถนำมาเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตนให้ชีวิตมีคุณค่า และมีระเบียบแบบแผนที่ดียิ่งขึ้น ๗) ทำให้เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดีและเสริมสร้างบุคลิกภาพ ผ่านมากย่อมรอบรู้มาก มีข้อมูลต่างๆ สั่งสมไว้มาก เมื่อสนทนากับผู้อื่นย่อมมีความมั่นใจไม่ขัดเขินเพราะมีภูมิรู้ สามารถถ่ายทอดความรู้ให้คำแนะนำแก่ผู้อื่นในทางที่ก่อให้เกิดประโยชน์ได้ ผู้รอบรู้จึงมักได้รับการยอมรับและเป็นที่เชื่อถือจากผู้อื่นข้อคำนึงในการเขียนบรรยาย 1. หาความรู้หรือรายละเอียดที่จะนำมาเขียน จากการอ่าน การฟัง การดู หรือจากการสอบถาม เพื่อนำข้อมูลที่จะใช้ในการเรียน โดยการจดบันทึกไว้ 2. ใช้ภาษาง่ายๆ พยายามอย่าใช้คำศัพท์โดยไม่จำเป็น ถ้าจะใช้ควรใช้วงเล็บความหมายไว้ด้วยเพื่อผู้อ่านได้เข้าใจ 3. กล่าวแต่เรื่องเป็นความจริง เรื่องที่น่าสนใจควรบรรยายอย่างละเอียด 4. เรียบเรียงความคิดให้เป็นลำดับต่อเนื่อง ไม่สับสน 5. อาจมีการยกตัวอย่างเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อเรื่องได้ข้อสังเกตการเขียนบรรยาย การเขียนบรรยายกล่าวข้างต้น เป็นการเรียนบรรยายตามความจริง สามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงไม่มีการสอดแทรกอารมณ์หรือความรู้สึกลงไปในงานเขียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การเขียนบรรยาย (เขียนบรรยาย) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคลสถานที่หรือเหตุการณ์ เป็นจริงเป็นจัง (บรรยาย) มีรูปแบบการเขียนคือ การเขียนประเภทการบรรยายนี้ ดูเป็นอย่างไรสัมผัสอย่างไรรสเป็นอย่างไรกลิ่นเป็นอย่างไรเพื่อให้ความรู้สึกแก่ผู้อ่านโดยทั่วไปจึงใช้รายละเอียดของประสาทสัมผัส คือให้รายละเอียดจุดต่อจุดหรือบรรยายเป็นเรื่องราว เช่น การไปเยี่ยมผู้ป่วยเด็กในโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์ลำดับเวลาสถานที่บุคคลผู้เขียนควรกล่าวถึงเหตุการณ์ให้ชัดเจน เช่นใช้ในคำประพันธ์แบบเล่าเรื่องเล่าเหตุการณ์การเขียนชีวประวัติการเขียนบันทึกการให้ข้อมูลการรายงานข่าวเป็นต้น แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆดังต่อไปนี้1 มีความทำให้รู้ในวิชาการด้านต่าง ๆอาจเป็นความรู้ทั่วไปหรือความรู้เฉพาะด้านก็ได้เช่นหัวเรื่อง: การอ่านตำราแขนงต่าง ๆ หนังสือคู่มือหนังสืออ่านประกอบในแขนงวิชาต่าง ๆ เป็นต้น2) ทำให้รอบรู้ทันโลก ๆ ยังจะได้ทราบข่าวกีฬาข่าวบันเทิงบทความวิจารณ์ตลอดจนการโฆษณาสินค้าต่าง ๆ อีกด้วย ๆ3) สงสัยต้องการรู้ได้เช่นอ่านพจนานุกรมเพื่อหาความหมายของคำ เป็นต้น4) น่าอ่านน่าสนใจย่อมทำให้ผู้อ่านมีความสุขความเพลิดเพลิน ๆ ผ่อนคลายความตึงเครียดได้ข้อคิด สามารถอ่านได้เร็วเข้าใจเรื่องราวที่อ่านได้ง่ายจับใจความได้ถูกต้องเข้าใจประเด็นสำคัญของเรื่อง ๆ มาก และมีระเบียบแบบแผนที่ดียิ่งขึ้น7) มีข้อมูลต่างๆสั่งสมไว้มาก จากการอ่านการฟังการดูหรือจากการสอบถามเพื่อนำข้อมูลที่จะใช้ในการเรียนโดยการจดบันทึกไว้2 ใช้ภาษาง่ายๆพยายามอย่าใช้คำศัพท์โดยไม่จำเป็น กล่าว แต่เรื่องเป็นความจริง ไม่สับสน5 เป็นการเรียนบรรยายตามความจริง













































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การเขียนบรรยาย ( เขียนแบบ ) มีจุดประสงค์ที่จะบรรยายถึงบุคคลสถานที่หรือเหตุการณ์จนกระทั่งผู้อ่านมีภาพของสิ่งนั้นในใจผู้เขียนต้องให้รายละเอียดที่ชัดเจนเป็นจริงเป็นจัง
How does it look. How touching, taste what scent is how to make sense to readers. In general, the details of the senses. The writing could be described as. For details, point to pointการเขียนบรรยาย ( บรรยาย ) มีรูปแบบการเขียนความรายงานการสังเกตและข้อเขียนเชิงบรรยายการเขียนประเภทการบรรยายนี้ดูเป็นอย่างไรสัมผัสอย่างไรรสเป็นอย่างไรกลิ่นเป็นอย่างไรเพื่อให้ความรู้สึกแก่ผู้อ่านโดยทั่วไปจึงใช้รายละเอียดของประสาทสัมผัสข้อเขียนอาจเป็นการบรรยายเป็นรายการคือให้รายละเอียดจุดต่อจุด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: