1. ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหารขมิ้นชันมันมีสรรพคุณในการสมาน การแปล - 1. ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหารขมิ้นชันมันมีสรรพคุณในการสมาน ไทย วิธีการพูด

1. ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพา

1. ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชันมันมีสรรพคุณในการสมานแผล ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น โดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อที่เป็นแผล น้ำมันหอมระเหยของขมิ้นชัน นอกจากช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารแล้ว ยังช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยการกระตุ้น mucin มาเคลือบกระเพาะอาหารและยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยชนิดต่างๆได้
2. ลดการอักเสบ
มีผลการทดลองว่า ผงแห้ง น้ำคั้นและสารสกัดชนิดต่างๆมีฤทธิ์ในการลดการอักเสบในร่างกายทุกชนิด และสารสำคัญในการออกฤทธิ์ลดการอักเสบ คือ สารที่มีชื่อว่า curcumin และเมื่อนำไปเทียบเคียงกับยาแผนปัจจุบันที่ช่วยบรรเทาการอักเสบที่มีชื่อว่า ฟีนิลบิวทาโซน (ยาบรรเทาอาการอักเสบที่ข้อ เช่น รูมาตอยด์ เป็นต้น) พบว่า มีฤทธิ์ใกล้เคียงกันในการรักษาอาการอักเสบแบบเฉียบพลัน แต่จะมีฤทธิ์เพียงครึ่งเดียวในการรักษาอาการอักเสบแบบเรื้อรัง
มีการทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกและข้ออักเสบเรื้อรัง จำนวน 42 คน โดยใช้สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของเหง้าขมิ้นพบว่า การได้รับสมุนไพรดังกล่าว สามารถลดความเจ็บปวดที่รุนแรงได้
3. ต้านการแพ้
ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการต้านการแพ้ โดยการออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งของสาร histamine ของร่างกายเมื่อมีอาการแพ้
4. ลดการบีบตัวของลำไส้
จากการทดลองทางคลินิกกับคนไข้จำนวน 440 คน อายุเฉลี่ย 48.5 ปี โดยการให้ทานขมิ้นชันทุกวัน วันละ 162 มิลลิกรัม พบว่า ขมิ้นชันมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส้ และยังช่วยในการขับลมและแก้อาเจียนด้วย
5. ลดอาการแน่นจุกเสียด
มีการทดลองในผู้ป่วยโรคท้องอืดท้องเฟ้อในโรงพยาบาล 6 แห่ง จำนวน 160 คน โดยรับประทานครั้งละ 2 แคปซูลวันละ 4 ครั้ง พบว่าได้ผลดีกว่ายาขับลมและผู้ป่วยพอใจ ซึ่งน้ำมันหอมระเหยของขมิ้นเป็นสารออกฤทธิ์ในการขับลม
6. ขับน้ำดี
ขมิ้นชันสามารถออกฤทธิ์เพิ่มการขับและกระตุ้นการสร้างน้ำดีได้ ซึ่งน้ำดีเป็นสารสำคัญในกระบวนการช่วยย่อยและดูดซึมอาหารของร่างกาย
7. รักษาอาการท้องเสีย
ตามตำรายาพื้นบ้านของไทย มีการใช้ขมิ้นรักษาอาการท้องเสีย  โดยนำผงขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอนรับประทานหลังอาหารและก่อนนอน ครั้งละ 3-5 เม็ด วันละ 3 เวลา และในประเทศอินโดนีเซียก็มีการใช้ขมิ้นในการรักษาอาการอุจจาระร่วงเช่นกัน และขมิ้นชันขนาด 1000 มก./ครั้ง/วัน มีผลทำให้อาการท้องร่วงในลูกสุกรระยะดูดนมแม่หายไป
8. ต้านแบคทีเรีย
ทั้งสารสกัดขมิ้นชัน น้ำมันหอมระเหย สาร curcumin และอนุพันธ์มีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียชนิดต่างๆ เช่น
แบคเรียที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
แบคทีเรียที่ทำให้เกิดเยื้อหุ้มฟันอักเสบ
แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคท้องเสีย
แบคทีเรียก่อโรคในกุ้ง
แบคทีเรียที่ให้เกิดหนอง
9. ต้านยีสต์และเชื้อรา
ทั้งสารสกัดขมิ้นชัน น้ำมันหอมระเหย สาร curcumin และอนุพันธ์ มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตและฆ่ายีสต์, เชื้อราชนิดต่างๆ เช่น
เชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนัง อย่างเช่น โรคกลาก
ยีสต์ที่มีชื่อว่า Candida albicans ซึ่งเป็นเชื้อโรคฉวยโอกาสของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น เบาหวาน เอดส์ เป็นต้น
10. ต้านปรสิต
สารสกัดจากขมิ้นสามารถที่จะฆ่าเชื้ออะมีบา ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคบิดมีตัวได้
11. ป้องกันตับอักเสบ
ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการป้องกันตับอักเสบ
จากการทดลองในหนูขาวพบว่าขมิ้นชันสามารถป้องกันตับถูกทำลายจากใช้ยาพาราเซตามอล
จากการทดลองในหนูขาวพบว่า สาร curcumin จากขมิ้นสามารถป้องกันตับจากการถูกทำลายด้วยเอทานอล โดยเอทานอลจะทำให้ตับทำงานหนัก และทำให้การทำหน้าที่และระดับของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการกำจัดอนุมูล อิสระเพิ่มขึ้น แต่หลังจากที่หนูขาวได้รับสารสกัดขมิ้นชันร่วมกับการรับเอทานอลแล้ว ตับทำงานน้อยลง รวมถึงการทำหน้าที่และระดับของเอนไซม์ในตับลดลง (เอทานอลเป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งที่ทานได้ ซึ่งเหล้าก็เป็นเอทานอลแบบหนึ่ง)
12. ต้านการกลายพันธุ์ (ต้านมะเร็ง)
ขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์  ต้านสารก่อมะเร็งที่มีบทบาทสำคัญในโรคที่เกี่ยวกับเบาหวาน และโรคที่เกิดจากการเสื่อมของร่างกาย
13.  ต้านความเป็นพิษต่อยีน
ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการป้องกันความเสียหายของ DNA และต้านความเป็นพิษต่อยีน
14.  มีสรรพคุณสมานแผล
ผงขมิ้นที่นำมาผสมกับน้ำแล้วทาลงบนแผลพบว่า ช่วยเร่งให้แผลที่ไม่ติดเชื้อของกระต่ายและหนูขาวหายได้ 23.3 และ 24.2% ตามลำดับ และสามารถเร่งให้แผลติดเชื้อของหนูขาวหายได้ 26.2%
การทดลองทางคลินิค โดยทายาสมุนไพรซึ่งมีขมิ้นเป็นส่วนประกอบที่ผิวหนัง พบว่ามีฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ผิวขึ้นใหม่ มีผู้ทดลองใช้สาร curcumin จากขมิ้นในการรักษาแผลหลังผ่าตัด 40 ราย พบว่าให้ผลลดการอักเสบได้เหมือนฟีนิลบิวทาโซน การทดลองใช้ขมิ้นหรือยาปฏิชีวนะ ในการรักษาแผลผุพองในผู้ป่วย 60 ราย โดยแบ่งเป็นกลุ่มที่ใช้ขมิ้น และกลุ่มที่ให้ยาปฏิชีวนะ แล้วติดตามดูแผลพุพองหลังการรักษา 21 วัน พบว่าผู้ป่วยทุกรายหายจากโรค และไม่พบภาวะแทรกซ้อนหรือข้อแตกต่างระหว่างการใช้ขมิ้นและยาปฏิชีวนะ
มีการนำสารสกัดของขมิ้น มาพัฒนาตำรับเป็นครีมป้ายปาก แล้วทำการทดลองเพื่อสังเกตฤทธิ์ในการสมานแผล โดยทำการทดลองในอาสาสมัคร 30 คน พบว่าครีมป้ายปากที่มีสารสกัดขมิ้นชัน 1% มีผลทำให้แผลในปากหายภายใน 1 สัปดาห์
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
1. ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหารขมิ้นชันมันมีสรรพคุณในการสมานแผลช่วยให้แผลหายเร็วขึ้นโดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อที่เป็นแผลน้ำมันหอมระเหยของขมิ้นชันนอกจากช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารแล้วยังช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารโดยการกระตุ้น mucin มาเคลือบกระเพาะอาหารและยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยชนิดต่างๆได้2. ลดการอักเสบมีผลการทดลองว่าผงแห้งน้ำคั้นและสารสกัดชนิดต่างๆมีฤทธิ์ในการลดการอักเสบในร่างกายทุกชนิดและสารสำคัญในการออกฤทธิ์ลดการอักเสบคือสารที่มีชื่อว่าเคอร์และเมื่อนำไปเทียบเคียงกับยาแผนปัจจุบันที่ช่วยบรรเทาการอักเสบที่มีชื่อว่าฟีนิลบิวทาโซน (ยาบรรเทาอาการอักเสบที่ข้อเช่นรูมาตอยด์เป็นต้น) พบว่ามีฤทธิ์ใกล้เคียงกันในการรักษาอาการอักเสบแบบเฉียบพลันแต่จะมีฤทธิ์เพียงครึ่งเดียวในการรักษาอาการอักเสบแบบเรื้อรังมีการทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกและข้ออักเสบเรื้อรังจำนวน 42 คนโดยใช้สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของเหง้าขมิ้นพบว่าการได้รับสมุนไพรดังกล่าวสามารถลดความเจ็บปวดที่รุนแรงได้3. ต้านการแพ้ของร่างกายเมื่อมีอาการแพ้ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการต้านการแพ้โดยการออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งของสารฮิสตามีน4. ลดการบีบตัวของลำไส้จากการทดลองทางคลินิกกับคนไข้จำนวน 440 คนอายุเฉลี่ย 48.5 ปีโดยการให้ทานขมิ้นชันทุกวันวันละ 162 มิลลิกรัมพบว่าขมิ้นชันมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส้และยังช่วยในการขับลมและแก้อาเจียนด้วย5. ลดอาการแน่นจุกเสียดมีการทดลองในผู้ป่วยโรคท้องอืดท้องเฟ้อในโรงพยาบาล 6 แห่งจำนวน 160 คนโดยรับประทานครั้งละ 2 แคปซูลวันละ 4 ครั้งพบว่าได้ผลดีกว่ายาขับลมและผู้ป่วยพอใจซึ่งน้ำมันหอมระเหยของขมิ้นเป็นสารออกฤทธิ์ในการขับลม6. ขับน้ำดีขมิ้นชันสามารถออกฤทธิ์เพิ่มการขับและกระตุ้นการสร้างน้ำดีได้ซึ่งน้ำดีเป็นสารสำคัญในกระบวนการช่วยย่อยและดูดซึมอาหารของร่างกาย7. รักษาอาการท้องเสียตามตำรายาพื้นบ้านของไทยมีการใช้ขมิ้นรักษาอาการท้องเสียโดยนำผงขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอนรับประทานหลังอาหารและก่อนนอนครั้งละ 3-5 เม็ดวันละ 3 เวลาและในประเทศอินโดนีเซียก็มีการใช้ขมิ้นในการรักษาอาการอุจจาระร่วงเช่นกันและขมิ้นชันขนาด 1000 มก./ครั้ง/วันมีผลทำให้อาการท้องร่วงในลูกสุกรระยะดูดนมแม่หายไป8. ต้านแบคทีเรียทั้งสารสกัดขมิ้นชันน้ำมันหอมระเหยสารเคอร์คูมินและอนุพันธ์มีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียชนิดต่าง ๆ เช่นแบคเรียที่ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารแบคทีเรียที่ทำให้เกิดเยื้อหุ้มฟันอักเสบแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรคท้องเสียแบคทีเรียก่อโรคในกุ้งแบคทีเรียที่ให้เกิดหนอง9. ต้านยีสต์และเชื้อราทั้งสารสกัดขมิ้นชันน้ำมันหอมระเหยสารเคอร์คูมินและอนุพันธ์มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตและฆ่ายีสต์ เชื้อราชนิดต่าง ๆ เช่นเชื้อราที่เป็นสาเหตุของโรคผิวหนังอย่างเช่นโรคกลากยีสต์ที่มีชื่อว่า Candida albicans ซึ่งเป็นเชื้อโรคฉวยโอกาสของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำเช่นเบาหวานเอดส์เป็นต้น10. ต้านปรสิตสารสกัดจากขมิ้นสามารถที่จะฆ่าเชื้ออะมีบาซึ่งเป็นสาเหตุของโรคบิดมีตัวได้11. ป้องกันตับอักเสบขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการป้องกันตับอักเสบจากการทดลองในหนูขาวพบว่าขมิ้นชันสามารถป้องกันตับถูกทำลายจากใช้ยาพาราเซตามอลจากการทดลองในหนูขาวพบว่าสารเคอร์คูมินจากขมิ้นสามารถป้องกันตับจากการถูกทำลายด้วยเอทานอลโดยเอทานอลจะทำให้ตับทำงานหนักและทำให้การทำหน้าที่และระดับของเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการกำจัดอนุมูลอิสระเพิ่มขึ้นแต่หลังจากที่หนูขาวได้รับสารสกัดขมิ้นชันร่วมกับการรับเอทานอลแล้วตับทำงานน้อยลงรวมถึงการทำหน้าที่และระดับของเอนไซม์ในตับลดลง (เอทานอลเป็นแอลกอฮอล์ชนิดหนึ่งที่ทานได้ซึ่งเหล้าก็เป็นเอทานอลแบบหนึ่ง)12. ต้านการกลายพันธุ์ (ต้านมะเร็ง)ขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านการกลายพันธุ์ต้านสารก่อมะเร็งที่มีบทบาทสำคัญในโรคที่เกี่ยวกับเบาหวานและโรคที่เกิดจากการเสื่อมของร่างกาย13. ต้านความเป็นพิษต่อยีนและต้านความเป็นพิษต่อยีนขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการป้องกันความเสียหายของดีเอ็นเอ14. มีสรรพคุณสมานแผลผงขมิ้นที่นำมาผสมกับน้ำแล้วทาลงบนแผลพบว่าช่วยเร่งให้แผลที่ไม่ติดเชื้อของกระต่ายและหนูขาวหายได้ 23.3 และ 24.2% ตามลำดับและสามารถเร่งให้แผลติดเชื้อของหนูขาวหายได้ 26.2%การทดลองทางคลินิคโดยทายาสมุนไพรซึ่งมีขมิ้นเป็นส่วนประกอบที่ผิวหนังพบว่ามีฤทธิ์ในการสร้างเซลล์ผิวขึ้นใหม่มีผู้ทดลองใช้สารเคอร์จากขมิ้นในการรักษาแผลหลังผ่าตัด 40 รายพบว่าให้ผลลดการอักเสบได้เหมือนฟีนิลบิวทาโซนการทดลองใช้ขมิ้นหรือยาปฏิชีวนะในการรักษาแผลผุพองในผู้ป่วย 60 รายโดยแบ่งเป็นกลุ่มที่ใช้ขมิ้นและกลุ่มที่ให้ยาปฏิชีวนะแล้วติดตามดูแผลพุพองหลังการรักษา 21 วันพบว่าผู้ป่วยทุกรายหายจากโรคและไม่พบภาวะแทรกซ้อนหรือข้อแตกต่างระหว่างการใช้ขมิ้นและยาปฏิชีวนะมีการนำสารสกัดของขมิ้น มาพัฒนาตำรับเป็นครีมป้ายปาก แล้วทำการทดลองเพื่อสังเกตฤทธิ์ในการสมานแผล โดยทำการทดลองในอาสาสมัคร 30 คน พบว่าครีมป้ายปากที่มีสารสกัดขมิ้นชัน 1% มีผลทำให้แผลในปากหายภายใน 1 สัปดาห์
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
1
ช่วยให้แผลหายเร็วขึ้น น้ำมันหอมระเหยของขมิ้นชัน โดยการกระตุ้น mucin
ลดการอักเสบ
มีผลการทดลองว่าผงแห้ง คือสารที่มีชื่อว่า curcumin ฟีนิลบิวทาโซน (ยาบรรเทาอาการอักเสบที่ข้อเช่นรูมาตอยด์เป็นต้น) พบว่า
จำนวน 42 คน การได้รับสมุนไพรดังกล่าวสามารถลดความเจ็บปวดที่รุนแรงได้
3
ฮีสตามีของร่างกายเมื่อมีอาการแพ้
4
440 คนอายุเฉลี่ย 48.5 ปีโดยการให้ทานขมิ้นชันทุกวันวันละ 162 มิลลิกรัมพบว่า 6 แห่งจำนวน 160 คนโดยรับประทานครั้งละ 2 แคปซูลวันละ 4 ครั้ง มีการใช้ขมิ้นรักษาอาการท้องเสีย ครั้งละ 3-5 เม็ดวันละ 3 เวลา และขมิ้นชันขนาด 1,000 มก. / ครั้ง / วัน ต้านแบคทีเรียทั้งสารสกัดขมิ้นชันน้ำมันหอมระเหยสาร curcumin น้ำมันหอมระเหยสาร curcumin และอนุพันธ์ เชื้อราชนิดต่างๆ อย่างเช่นโรคกลากยีสต์ที่มีชื่อว่า Candida albicans เช่นเบาหวานเอดส์เป็นต้น10 ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคบิดมีตัวได้11 สาร curcumin โดยเอทานอลจะทำให้ตับทำงานหนัก อิสระเพิ่มขึ้น ตับทำงานน้อยลง ซึ่งเหล้าก็เป็นเอทานอลแบบหนึ่ง) 12 ต้านการกลายพันธุ์ ดีเอ็นเอและต้านความเป็นพิษต่อยีน14 23.3 และ 24.2% ตามลำดับ 26.2% การทดลองทางคลินิค มีผู้ทดลองใช้สาร curcumin จากขมิ้นในการรักษาแผลหลังผ่าตัด 40 ราย การทดลองใช้ขมิ้นหรือยาปฏิชีวนะในการรักษาแผลผุพองในผู้ป่วย 60 รายโดยแบ่งเป็นกลุ่มที่ใช้ขมิ้นและกลุ่มที่ให้ยาปฏิชีวนะแล้วติดตามดูแผลพุพองหลังการรักษา 21 วันพบว่าผู้ป่วยทุกรายหายจากโรค มาพัฒนาตำรับเป็นครีมป้ายปาก โดยทำการทดลองในอาสาสมัคร 30 คน 1% มีผลทำให้แผลในปากหายภายใน 1 สัปดาห์






























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
1 . ต้านการเกิดแผลและสมานแผลในกระเพาะอาหาร
ขมิ้นชันมันมีสรรพคุณในการสมานแผลช่วยให้แผลหายเร็วขึ้นโดยเร่งการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อที่เป็นแผลน้ำมันหอมระเหยของขมิ้นชันนอกจากช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารแล้วยังช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารเยื่อเมือกมาเคลือบกระเพาะอาหารและยับยั้งการหลั่งน้ำย่อยชนิดต่างๆได้
2 . ลดการอักเสบ
มีผลการทดลองว่าผงแห้งน้ำคั้นและสารสกัดชนิดต่างๆมีฤทธิ์ในการลดการอักเสบในร่างกายทุกชนิดและสารสำคัญในการออกฤทธิ์ลดการอักเสบความสารที่มีชื่อว่าเคอร์คิวมินฟีนิลบิวทาโซน ( ยาบรรเทาอาการอักเสบที่ข้อเช่นรูมาตอยด์เป็นต้น ) พบว่ามีฤทธิ์ใกล้เคียงกันในการรักษาอาการอักเสบแบบเฉียบพลันแต่จะมีฤทธิ์เพียงครึ่งเดียวในการรักษาอาการอักเสบแบบเรื้อรัง
มีการทดลองทางคลินิกในผู้ป่วยที่มีปัญหากระดูกและข้ออักเสบเรื้อรังจำนวน 42 คนโดยใช้สมุนไพรที่มีส่วนประกอบของเหง้าขมิ้นพบว่าการได้รับสมุนไพรดังกล่าวสามารถลดความเจ็บปวดที่รุนแรงได้
3 ต้านการแพ้
ขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการต้านการแพ้โดยการออกฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งของสาร histamine ของร่างกายเมื่อมีอาการแพ้
4 ลดการบีบตัวของลำไส้
จากการทดลองทางคลินิกกับคนไข้จำนวน 440 คนอายุเฉลี่ย 485 . โดยการให้ทานขมิ้นชันทุกวันวันละ 162 มิลลิกรัมพบว่าขมิ้นชันมีฤทธิ์ลดการบีบตัวของลำไส้และยังช่วยในการขับลมและแก้อาเจียนด้วย
5 ลดอาการแน่นจุกเสียด
มีการทดลองในผู้ป่วยโรคท้องอืดท้องเฟ้อในโรงพยาบาล 6 แห่งจำนวน 160 คนโดยรับประทานครั้งละ 2 แคปซูลวันละ 4 ครั้งพบว่าได้ผลดีกว่ายาขับลมและผู้ป่วยพอใจซึ่งน้ำมันหอมระเหยของขมิ้นเป็นสารออกฤทธิ์ในการขับลม
6ขับน้ำดี
ขมิ้นชันสามารถออกฤทธิ์เพิ่มการขับและกระตุ้นการสร้างน้ำดีได้ซึ่งน้ำดีเป็นสารสำคัญในกระบวนการช่วยย่อยและดูดซึมอาหารของร่างกาย
7 รักษาอาการท้องเสีย
ตามตำรายาพื้นบ้านของไทยมีการใช้ขมิ้นรักษาอาการท้องเสีย โดยนำผงขมิ้นชันผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นยาลูกกลอนรับประทานหลังอาหารและก่อนนอนครั้งละ 3-5 เม็ดวันละ 3 เวลาและขมิ้นชันขนาด 1000 มก .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: