จากผลของงานวิจัยข้างต้นพบว่า.....
1. Rh system, RhD negative มีลักษณะเป็น gene deletion ส่วนใหญ่พบใน Caucasian. ส่วน RHD pseudogene พบมากใน African ทำให้พบความถี่อัลลีลใน POP7 สูงกว่า POP1 และ POP2 เล็กน้อย สำหรับอัลลีล RHCE*C และ RHCE*E พบความถี่อัลลีลใน POP1 และ POP7 มีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน
2. Kell antigen มักพบใน European ประมาณ 4-9 % แต่ไม่พบใน Asian จากการศึกษาของ Hamilton และ Nakahara พบว่า Kell antigen แบบ heterogenous สามารถพบได้ 0.03% ซึ่งใน POP1 พบได้ถึง 0.5% อย่างไรก็ตาม Kell antigen ก็ยังคงมีอุบัติการณ์การพบน้อยอยู่ดี
3. Duffy system สามารถพบ ความถี่อัลลีล FY*01 ทั้งในคน JB, MJB และ Asian ส่วนความถี่อัลลีล FY*01N.01 พบได้มากใน African แต่พบได้น้อยใน Asian และ Caucasian จากการศึกษาของ Tanka et al. พบว่าอัลลีล (FY*01N.01) ดังกล่าวสามารถพบได้ในคนญี่ปุ่นร้อยละ 0.6
4. ความถี่อัลลีลในหมู่เลือดระบบ Kidd ที่พบนั้นมีความคล้ายคลึงกันใน Caucasian และ Asian และเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับ JB พบว่าไม่มีความต่างกันในทางสถิติ
5. Dia antigen พบได้น้อยมากใน Caucasian หรือ Black แต่สามารถพบได้ใน N/S American Indian และAsian จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าความถี่ยีน Dia ไม่ต่างกันกับความถี่ยีนในประชากรญี่ปุ่น (POP2)
จากความรู้เกี่ยวกับอุบัติการณ์ต่างๆของ RBC ที่อาจพบได้ในประชากรที่ต่างกัน รวมถึงจากผลการศึกษาในคนที่มีประวัติการรับเลือดหรือคนท้องของ Takeshi et al. ที่พบว่า 1.43% ของคนญี่ปุ่นมีความถี่แอนติบอดี้ D, E, E+c, Lea, Leb, P1, M, Fyb และ Dia ลดลง และ 10% ของคนบราซิลที่มีโอกาสเกิด allo-antibody มักพบแอนติบอดี้ D, E, C, K, Fyb , Dia และ Dib
ผลจากการศึกษา genotype ใน JB นั้นทำให้มีข้อมูลในสามารถเลือกเลือดที่ไม่มีแอนติเจนที่ตรงกับแอนติบอดี้ที่ผู้ป่วยมี เพื่อป้องกันการเกิด post- transfusion reaction
Conclusion
ผลการเปรียบเทียบระหว่างชาวญี่ปุ่นที่อยู่ในบราซิลกับชาวญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในที่อื่นๆ พบว่าความถี่อัลลีลและความถี่ยีนของ RHCE และ Duffy มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ผลจากงานวิจัยนี้ใช้เทคนิคทางโมเลคิวล่ามาประยุกต์ใช้เพื่อหาอุบัติการณ์ของแอนติเจนบน RBC เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับคนไข้ในระยะยาว
จากผลของงานวิจัยข้างต้นพบว่า.....1. Rh system, RhD negative มีลักษณะเป็น gene deletion ส่วนใหญ่พบใน Caucasian. ส่วน RHD pseudogene พบมากใน African ทำให้พบความถี่อัลลีลใน POP7 สูงกว่า POP1 และ POP2 เล็กน้อย สำหรับอัลลีล RHCE*C และ RHCE*E พบความถี่อัลลีลใน POP1 และ POP7 มีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน 2. Kell antigen มักพบใน European ประมาณ 4-9 % แต่ไม่พบใน Asian จากการศึกษาของ Hamilton และ Nakahara พบว่า Kell antigen แบบ heterogenous สามารถพบได้ 0.03% ซึ่งใน POP1 พบได้ถึง 0.5% อย่างไรก็ตาม Kell antigen ก็ยังคงมีอุบัติการณ์การพบน้อยอยู่ดี3. Duffy system สามารถพบ ความถี่อัลลีล FY*01 ทั้งในคน JB, MJB และ Asian ส่วนความถี่อัลลีล FY*01N.01 พบได้มากใน African แต่พบได้น้อยใน Asian และ Caucasian จากการศึกษาของ Tanka et al. พบว่าอัลลีล (FY*01N.01) ดังกล่าวสามารถพบได้ในคนญี่ปุ่นร้อยละ 0.64. ความถี่อัลลีลในหมู่เลือดระบบ Kidd ที่พบนั้นมีความคล้ายคลึงกันใน Caucasian และ Asian และเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับ JB พบว่าไม่มีความต่างกันในทางสถิติ5. Dia antigen พบได้น้อยมากใน Caucasian หรือ Black แต่สามารถพบได้ใน N/S American Indian และAsian จากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าความถี่ยีน Dia ไม่ต่างกันกับความถี่ยีนในประชากรญี่ปุ่น (POP2)จากความรู้เกี่ยวกับอุบัติการณ์ต่างๆของ RBC ที่อาจพบได้ในประชากรที่ต่างกัน รวมถึงจากผลการศึกษาในคนที่มีประวัติการรับเลือดหรือคนท้องของ Takeshi et al. ที่พบว่า 1.43% ของคนญี่ปุ่นมีความถี่แอนติบอดี้ D, E, E+c, Lea, Leb, P1, M, Fyb และ Dia ลดลง และ 10% ของคนบราซิลที่มีโอกาสเกิด allo-antibody มักพบแอนติบอดี้ D, E, C, K, Fyb , Dia และ Dibผลจากการศึกษา genotype ใน JB นั้นทำให้มีข้อมูลในสามารถเลือกเลือดที่ไม่มีแอนติเจนที่ตรงกับแอนติบอดี้ที่ผู้ป่วยมี เพื่อป้องกันการเกิด post- transfusion reaction
Conclusion
ผลการเปรียบเทียบระหว่างชาวญี่ปุ่นที่อยู่ในบราซิลกับชาวญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในที่อื่นๆ พบว่าความถี่อัลลีลและความถี่ยีนของ RHCE และ Duffy มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ผลจากงานวิจัยนี้ใช้เทคนิคทางโมเลคิวล่ามาประยุกต์ใช้เพื่อหาอุบัติการณ์ของแอนติเจนบน RBC เพื่อป้องกันผลกระทบที่จะเกิดกับคนไข้ในระยะยาว
การแปล กรุณารอสักครู่..
จากผลของงานวิจัยข้างต้นพบว่า . . . . . 1 ระบบกิจกรรม , RhD Negative มีลักษณะเป็นยีนลบส่วนใหญ่พบในผิวขาว ส่วน rhd pseudogene พบมากในแอฟริกาทำให้พบความถี่อัลลีลใน pop7 สูงกว่า pop1 และ pop2 เล็กน้อยสำหรับอัลลีล RHCE * C และ RHCE * E พบความถี่อัลลีลใน pop1 และ pop7 มีแนวโน้มไปในทิศทางเดียวกัน 2 เคลล์แอนติเจนมักพบในยุโรปประมาณ 4-9 % แต่ไม่พบในเอเชียจากการศึกษาของแฮมิลตันและนาคาฮาร่า พบว่าเคลแอนติเจนแบบกลุ่มสามารถพบได้ 0.03 % ซึ่งใน pop1 พบได้ถึง 0.5% อย่างไรก็ตามเคลก็ยังคงมีอุบัติการณ์การพบน้อยอยู่ดีแอนติเจน 3 ระบบสามารถพบความถี่อัลลีลดัฟฟี่กล่าว * 01 ทั้งในคนเจบี mjb และเอเชียส่วนความถี่อัลลีลทำ * 01n.01 พบได้มากในแต่พบได้น้อยในเอเชียแอฟริกาและผิวขาวจากการศึกษาของกะ et al . พบว่าอัลลีล ( ทำ * 01n . 01 ) ดังกล่าวสามารถพบได้ในคนญี่ปุ่นร้อยละ 0.6 4 ความถี่อัลลีลในหมู่เลือดระบบจอมโจรคิดที่พบนั้นมีความคล้ายคลึงกันในผิวขาวและเอเชียพบว่าไม่มีความต่างกันในทางสถิติและเมื่อนำไปเปรียบเทียบกับเจบี5 . เดีย แอนติเจนพบได้น้อยมากใน Caucasian ค็อคสีดำแต่สามารถพบได้ใน N / S American Indian และเอเชียจากการศึกษาในครั้งนี้พบว่าความถี่ยีน Dia ไม่ต่างกันกับความถี่ยีนในประชากรญี่ปุ่น ( pop2 )จากความรู้เกี่ยวกับอุบัติการณ์ต่างๆของ RBC ที่อาจพบได้ในประชากรที่ต่างกันรวมถึงจากผลการศึกษาในคนที่มีประวัติการรับเลือดหรือคนท้องของทาเคชิ et al . ที่พบว่า 8.49% ของคนญี่ปุ่นมีความถี่แอนติบอดี้ D , E , E + C , ทุ่งหญ้า , เล็บ P1 m , fyb และ Dia ลดลงและ 10% ของคนบราซิลที่มีโอกาสเกิดฮัลโหลแอนติบอดีมักพบแอนติบอดี้ D , E , C , K , fyb Dia และ ดิบผลจากการศึกษา genotype the เจบีนั้นทำให้มีข้อมูลในสามารถเลือกเลือดที่ไม่มีแอนติเจนที่ตรงกับแอนติบอดี้ที่ผู้ป่วยมีเพื่อป้องกันการเกิดโพสต์ - ให้ปฏิกิริยาสรุปผลการเปรียบเทียบระหว่างชาวญี่ปุ่นที่อยู่ในบราซิลกับชาวญี่ปุ่นที่อาศัยอยู่ในที่อื่นๆพบว่าความถี่อัลลีลและความถี่ยีนของ RHCE และดัฟฟี่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญผลจากงานวิจัยนี้ใช้เทคนิคทางโมเลคิวล่ามาประยุกต์ใช้เพื่อหาอุบัติการณ์ของแอนติเจนบน RBC เพื่อป้องก ันผลกระทบที่จะเกิดกับคนไข้ในระยะยาว
การแปล กรุณารอสักครู่..