งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ล การแปล - งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ล ไทย วิธีการพูด

งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถี

งานประเพณีต่างๆของชาวลาว นอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่ และภาษาที่ไทย – ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้ว งานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนัก เกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่า ฮีตสิบสอง
• ฮีต หมายถึง จารีต
• สิบสอง หมายถึง เดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
• เดือนอ้าย: บุญเข้ากรรม
ช่วงที่จัด : เดือนธันวาคม ซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุ เข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัด เพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
• เดือนยี่ : บุญคูณลาน
ช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
ลักษณะงาน : ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าว จะมีการทำบุญขวัญข้าว มีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคล และเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
• เดือนสาม : บุญข้าวจี่
ช่วงที่จัด : หลังงานมาฆะบูชา
ลักษณะงาน : ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้ว ปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือ นำไปเสียบไม้ย่าง จากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้ นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้ว เพื่อเป็นการทำบุญ
• เดือนสี่ : บุญพระเวส
ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
ลักษณะงาน : งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติ เช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดก อันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์ มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถ มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน
• เดือนห้า : บุญสงกรานต์
ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์
ลักษณะงาน : นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย
วันแรกของงานเรียกว่า “วันสงขารล่อง” ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้า เพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขง ตกเย็นมีการลอยกระทง ภายในกระทงบรรจุกล้วย ขิง ข้าวดำ ข้าวแดง ดอกไม้ ใบพลู ธูป เทียน ดอกดาวเรือง ผมและเล็บของผู้ลอย อธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
วันที่สอง เรียกว่า “วันเนา” ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้ว สิงห์คำ ช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอ ผู้เฒ่าผู้แก่ หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้าน ขบวนพระสงฆ์ นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำ อวยพระให้ลูกหลาน
วันที่สาม เรียกว่า “วันสังขารขึ้น” ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาด พากันเดินขึ้นภูษี ภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบาง ระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุ วิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษี มีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทาน ช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุน มีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
วันที่สี่ นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบาง พระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบาง ปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำ พระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืน จากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม
• เดือนหก : บุญบั้งไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึง ย่างเข้าฤดูฝน
ลักษณะงาน : คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสาน จุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมือง และขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล ปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้ว นับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ
• เดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
ลักษณะงาน : งานเล็กๆ แต่สำคัญ จุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไร ที่จะเกิดกับบ้านเมือง เพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
• เดือนแปด : บุญเข้าพรรษา
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8
ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทย พระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัติ นับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
• เดือนเก้า : บุญห่อข้าวประดับดิน การส่วงเฮือ และการล่องเฮือไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
ลักษณะงาน : บุญห่อข้าวประดับดิน เป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษ และวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญ ชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาว บุหรี่ หมาก พลู ใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้าน รั้ววัด
การส่วงเฮือ
ส่วง หมายถึง แข่งขัน
เฮือ หมายถึง เรือ
เป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้า ทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขัน ในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำ ปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
• เดือนสิบ : บุญข้าวสาก
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10
ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรต ห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
• เดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
ช่วงที่จัด : วันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11
ลักษณะงาน : เป็นงานตักบาตรเทโว มีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณร มีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวาย มีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้ง โดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาท ตกแต่งสวยงาม จัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ
• เดือนสิบสอง : บุญกฐิน
ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำ เดือน 11 – เดือนเพ็ญ เดือน 12
ลักษณะงาน : เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษา นับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีต่างๆของชาวลาวนอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่และภาษาที่ไทย-ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้วงานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนักเกือบทั้งหมดเป็นงานประเพณีที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาเรียกกันว่าฮีตสิบสอง•ฮีตหมายถึงจารีต•สิบสองหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปีชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี•เดือนอ้าย: บุญเข้ากรรม ช่วงที่จัด: เดือนธันวาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาวลักษณะงาน: จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุเข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัดเพื่อชำระจิตใจให้สะอาด•เดือนยี่: บุญคูณลานช่วงที่จัด: หลังฤดูเก็บเกี่ยวลักษณะงาน: ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าวจะมีการทำบุญขวัญข้าวมีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคลและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น•เดือนสาม: บุญข้าวจี่ช่วงที่จัด: หลังงานมาฆะบูชาลักษณะงาน: ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้วปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือนำไปเสียบไม้ย่างจากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้นำถวายพระสงฆ์ในช่วงที่หมดฤดูทำนาแล้วเพื่อเป็นการทำบุญ•เดือนสี่: บุญพระเวสช่วงที่จัด: เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้ลักษณะงาน: งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติเช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดกอันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์มีการจัดรูปขบวนแห่พระเวสสันดรและนางมัทรีออกจากป่าเข้าในเมืองไปสิ้นสุดที่พระอุโบสถมีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน•เดือนห้า: บุญสงกรานต์ช่วงที่จัด: ตรุษสงกรานต์ลักษณะงาน: นับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทยวันแรกของงานเรียกว่า "วันสงขารล่อง" ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้าเพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขงตกเย็นมีการลอยกระทงภายในกระทงบรรจุกล้วยขิงข้าวดำข้าวแดงดอกไม้ใบพลูธูปเทียนดอกดาวเรืองผมและเล็บของผู้ลอยอธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทงวันที่สองเรียกว่า "วันเนา" ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้วสิงห์คำช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอผู้เฒ่าผู้แก่หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านขบวนพระสงฆ์นางสงกรานต์ (นางวอ) ขี่สัตว์พาหนะบนรถแห่ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำอวยพระให้ลูกหลานวันที่สามเรียกว่า "วันสังขารขึ้น" ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาดพากันเดินขึ้นภูษีภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบางระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุวิธีการนี้เรียกว่าเป็นการตักบาตรภูษีมีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทานช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุนมีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุนวันที่สี่นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบางพระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบางปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำพระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 วัน 3 คืนจากนั้นจะอัญเชิญกลับหอพิพิธภัณฑ์เหมือนเดิม•เดือนหก: บุญบั้งไฟ ช่วงที่จัด: เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึงย่างเข้าฤดูฝนลักษณะงาน: คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสานจุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมืองและขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่าง ๆ และเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้วนับเป็นงานที่กระทำกันมาแต่โบราณ•เดือนเจ็ด: บุญซำฮะช่วงที่จัด: เดือนเจ็ดลักษณะงาน: งานเล็ก ๆ แต่สำคัญจุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไรที่จะเกิดกับบ้านเมืองเพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข•เดือนแปด: บุญเข้าพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 8ลักษณะงาน: เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทยพระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัตินับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่าง ๆ•เดือนเก้า: บุญห่อข้าวประดับดินการส่วงเฮือและการล่องเฮือไฟช่วงที่จัด: เดือนเก้าลักษณะงาน: บุญห่อข้าวประดับดินเป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษและวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาวบุหรี่หมากพลูใส่ลงในกรวยใบตองไปวางตามพื้นดินหรือใต้ต้นไม้บริเวณรั้วบ้านรั้ววัดการส่วงเฮือส่วงหมายถึงแข่งขันเฮือหมายถึงเรือเป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้าทุกคุ้ม (หมู่บ้าน) จะนำเรือเข้าแข่งขันในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง•เดือนสิบ: บุญข้าวสากช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 10ลักษณะงาน: อันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตนจุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรตห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 วัน•เดือนสิบเอ็ด: บุญออกพรรษาช่วงที่จัด: วันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11ลักษณะงาน: เป็นงานตักบาตรเทโวมีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณรมีการกวนข้าวทิพย์ (กระยาสารท) ถวายมีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้งโดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาทตกแต่งสวยงามจัดขบวนแห่ปราสาทผึ้งไปถวายพระในตอนค่ำเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้ผู้ล่วงลับ•เดือนสิบสอง: บุญกฐินช่วงที่จัด: แรม 1 ค่ำเดือน 11 – เดือนเพ็ญเดือน 12ลักษณะงาน: เป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษานับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีต่างๆของชาวลาวนอกจากวิถีชีวิตความเป็นอยู่และภาษาที่ไทย–ลาวมีความคล้ายคลึงกันแล้วงานประเพณีต่างๆตลอดปีของลาวก็ดูไม่ต่างจากชาวไทยในภาคอีสานนักฮีตสิบสอง
บริการฮีตหมายถึงจารีต
- สิบสองหมายถึงเดือนทั้ง 12 เดือนในรอบหนึ่งปี
ชาวหลวงพระบางมีงานประเพณีครบทั้งสิบสองเดือนในหนึ่งปี
-
เดือนอ้าย : บุญเข้ากรรมช่วงที่จัด : เดือนธันวาคมซึ่งอยู่ในช่วงฤดูหนาว
ลักษณะงาน :จุดประสงค์ของงานนี้เพื่อให้พระภิกษุเข้าพิธีกรรมปลงอาบัติด้วยการอยู่ในเขตที่จำกัดเพื่อชำระจิตใจให้สะอาด
-
เดือนยี่ : บุญคูณลานช่วงที่จัด : หลังฤดูเก็บเกี่ยว
ลักษณะงาน :ก่อนที่จะนำข้าวที่นวดแล้วไปเก็บในยุ้งข้าวจะมีการทำบุญขวัญข้าวมีการนิมนต์พระภิกษุมาสวดเป็นสิริมงคลและเป็นนิมิตรหมายที่ดีให้ปีต่อๆไปทำนาเกิดผลดียิ่งๆขึ้น
-
เดือนสาม : บุญข้าวจี่ช่วงที่จัด :หลังงานมาฆะบูชา
ลักษณะงาน :ชาวนาจะนำข้าวจี่หรือข้าวเหนียวที่นึ่งสุกแล้วปั้นเป็นก้อนเท่าไข่เป็ดทาเกลือนำไปเสียบไม้ย่างจากนั้นตีไข่ทาให้ทั่วแล้วย่างจนไข่สุกและถอดไม่เสียบออกนำน้ำตาลอ้อยยัดลงตรงกลางเป็นไส้เพื่อเป็นการทำบุญ
บริการเดือนสี่ : บุญพระเวส
ช่วงที่จัด : เดือนสี่ข้างขึ้นหรือข้างแรมก็ได้
ลักษณะงาน :งานบุญพระเวสหรืองานบุญมหาชาติเช่นเดียวกับงานฟังเทศพระเวสสันดรชาดกอันเป็นชาดกที่ยิ่งใหญ่ชาวบ้านจะช่วยกันตกแต่งประดับประดาโรงธรรมด้วยดอกไม้ใช้ดอกบัวประดับธรรมมาสน์มีการเทศน์มหาเวสสันดรตลอดวัน
บริการเดือนห้า : บุญสงกรานต์
ช่วงที่จัด : ตรุษสงกรานต์ลักษณะงานนับเป็นงานที่ได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวมากที่สุดและยังถือเป็นวันปีใหม่ของลาวเช่นเดียวกับของไทย

:วันแรกของงานเรียกว่า " วันสงขารล่อง " ชาวหลวงพระบางจะไปจับจ่ายซื้อของและธงรูปพระพุทธเจ้าเพื่อไปปักกองเจดีย์ทรายริมแม่น้ำโขงตกเย็นมีการลอยกระทงภายในกระทงบรรจุกล้วยขิงข้าวดำข้าวแดงดอกไม้ใบพลูธูปเทียนผมและเล็บของผู้ลอยอธิษฐานให้ทุกข์โศกโรคภัยลอยไปกับกระทง
วันที่สองเรียกว่า " วันเนา " ช่วงเช้ามีการแห่รูปหุ่นเชิดปู่เยอย่าเยอและสิงห์แก้วสิงห์คำช่วงบ่ายขบวนแห่ซึ่งนำโดยปู่เยอย่าเยอผู้เฒ่าผู้แก่หัวหน้าหมู่บ้านแต่ละหมู่บ้านขบวนพระสงฆ์นางสงกรานต์ ( นางวอ )ปู่เยอย่าเยอก็จะฟ้อนรำอวยพระให้ลูกหลาน
วันที่สามเรียกว่า " วันสังขารขึ้น " ชาวหลวงพระบางทำข้าวเหนียวนึ่งและนมลูกกวาดพากันเดินขึ้นภูษีภูเขาสูงกลางเมืองหลวงพระบางระหว่างเดินจะวางข้าวเหนียวและขนมไว้ตามหัวเสาบันไดจนถึงองค์พระธาตุมีการโยนข้าวเหนียวลงป่าข้างองค์พระธาตุเป็นการให้ทานช่วงบ่ายมีขบวนแห่นางสังขารและอัญเชิญศีรษะท้าวกบิลพรหมจากวัดเชียงทองไปยังวัดวิชุนมีการสรงน้ำพระที่วัดวิชุน
วันที่สี่นับเป็นวันสำคัญอีกวันหนึ่งมีการแห่พระบางพระพุทธรูปคู่เมืองหลวงพระบางปีหนึ่งจะอัญเชิญออกมาให้ชาวเมืองสรงน้ำพระบางนี้จะประดิษฐานอยู่ที่วัดใหม่เป็นเวลา 3 3 คืนได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าบริการเดือนหก : บุญบั้งไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนหกก่อนฤดูกาลทำนามาถึงย่างเข้าฤดูฝน
ลักษณะงาน :คล้ายกับงานบุญบั้งไฟของภาคอีสานจุดประสงค์เพื่อบูชาหลักเมืองและขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลปีใดที่ไม่มีการทำบุญบั้งไฟเชื่อว่าปีนั้นจะเกิดเภทภัยต่างๆและเป็นสัญญาณว่าฤดูการทำนาจะเริ่มต้นแล้วบริการเดือนเจ็ด : บุญซำฮะ
ช่วงที่จัด : เดือนเจ็ด
ลักษณะงาน : งานเล็กๆแต่สำคัญจุดประสงค์เพื่อเป็นการชำระล้างเสนียดจัญไรที่จะเกิดกับบ้านเมืองเพื่อให้บ้านเมืองมีความสงบสุข
-
เดือนแปด : บุญเข้าพรรษาช่วงที่จัด :15 วันขึ้นค่ำเดือน 8
ลักษณะงาน : เป็นการเริ่มต้นฤดูเข้าพรรษาเหมือนชาวไทยพระสงฆ์จะหยุดออกบิณฑบาตรเป็นเวลา 3 เดือนตามพุทธบัญญัตินับแต่วันเข้าพรรษาเป็นต้นไปในวันแรกนี้จะมีการทำบุญกันที่วัดต่างๆ
- เดือนเก้า :บุญห่อข้าวประดับดินการส่วงเฮือและการล่องเฮือไฟ
ช่วงที่จัด : เดือนเก้า
ลักษณะงาน :บุญห่อข้าวประดับดินเป็นการทำพิธีกรรมอุทิศส่วนกุศลให้กับวิญาณบรรพบุรุษและวิญญาณไร้ญาติให้ออกมารับส่วนบุญชาวบ้านจะนำอาหารหวานคาวบุหรี่หมากพลูรั้ววัด
การส่วงเฮือ
ส่วงหมายถึงแข่งขันหมายถึงเรือ

เฮือเป็นงานบุญแข่งเรือประจำเดือนเก้าทุกคุ้ม ( หมู่บ้าน ) จะนำเรือเข้าแข่งขันในอดีตการแข่งเรือถือเป็นการฝึกซ้อมฝีพายเพื่อต่อสู้ข้าศึกที่มาทางน้ำปัจจุบันนับเป็นงานบุญที่สนุกสนานงานหนึ่งของชาวหลวงพระบาง
บริการเดือนสิบ : บุญข้าวสาก
ช่วงที่จัด : 15 วันขึ้นค่ำเดือน 10
ลักษณะงาน : จุดประสงค์ของการจัดงานเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้คนตายหรือเปรตห่างจากงานวันบุญข้าวประดับดิน 15 ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าอันเป็นเวลาที่เปรตต้องกับไปยังที่อยู่ของตน
บริการเดือนสิบเอ็ด : บุญออกพรรษา
ช่วงที่จัด : 15 วันขึ้นค่ำเดือน 11
ลักษณะงาน :เป็นงานตักบาตรเทโวมีการจัดอาหารไปถวายพระภิกษุสามเณรมีการกวนข้าวทิพย์ ( กระยาสารท ) ถวายมีการถวายผ้าจำนำพรรษาและปราสาทผึ้งโดยการนำไม้ไผ่มาสานเป็นรูปปราสาทตกแต่งสวยงามบริการเดือนสิบสอง : บุญกฐิน
ช่วงที่จัด : แรม 1 ค่ำเดือน 11 – 12 เดือนเพ็ญเดือนลักษณะงานเป็นการถวายผ้าแด่พระสงฆ์ที่จำพรรษามาตลอดช่วงเข้าพรรษานับเป็นงานบุญที่กระทำกันมาแต่โบราณ

:
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: