โครงงานขนมจีบ
วัสดุอุปกรณ์
1. ใบตอง
2. กะละมัง
3. กรรไกร
4. ถ้วย
5.
ส่วนผสม
1. แผ่นเกี๊ยว
2. หมูบด
3. น้ำมันงา
4. กระเทียม
5. พริกไทย
6. น้ำตาล
7. น้ำมันพืช
วิธีทำ
1. ตัดใบตองมารองที่หม้อนึ่ง
2. นำน้ำมันมาทาใบตองเพื่อไม่ให้ขนมจีบติดใบตอง
3. นำแผ่นเกี๊ยวมาตัดเป็นรูปวงกลม
4. ตำพริกไทยให้ละเอียด
5. นำหมูบดใส่กะละมัง ตามด้วย น้ำมันงา น้ำตาล พริกไทย
6. ผสมให้เข้ากัน
7. ตักหมูใส่ลงบนเกี๊ยว
8. ห่อให้เป็นจีบๆวางลงในหม้อนึ่งจนเต็ม
9. นึ่งประมาณ 10 นาทีแรกแล้วนำน้ำมันเทลงไปอีก 1 ครั้ง เพื่อไม่ให้ขนมจีบติดกัน
10. จากนั้นนึ่งต่ออีกประมาณ 10 นาที พร้อมรับประทาน
ประวัติความเป็นมาของขนมจีบ
ขนมจีบถือกำเนิดที่เมืองกวางตุ้ง มีตำนานเล่ากันว่าสมัยก่อนนั้นมีนักเดินทางเส้นทางสายไหมมักจะหาสถานที่เพื่อแวะพักผ่อนระหว่างการเดินทาง ดังนั้นบนเส้นทางสายไหมจึงเต็มไปด้วย “ ร้านน้าชา “ เพื่อต้อนรับอาคันตุกะนักเดินทางแปลกหน้าเป็นประจา ขณะเดียวกันชาวนาตามชนบทเมื่อทางานเหนื่อยล้าก็แวะพักผ่อนและดื่มน้าชายามบ่ายตามร้านน้าชาเหล่านี้ขณะที่ดื่มน้า ชาก็จะต้องมีอาหารกินเล่นเพื่อกินคู่กับน้าชา บรรดาเจ้าของร้านจึงเริ่มคิดอาหารกินเล่นต่าง ๆ ขึ้นมา ด้วยความที่เป็นอาหารกินง่ายและรสชาติแปลกใหม่ ขนมจีบจึงกลายเป็นอาหารที่นิยมทั่วโลก คาว่า ขนมจีบ มาจากภาษากวางตุ้ง แปลว่า Touch The Heart หมายถึง การท าอาหารคาเล็กคาน้อยที่นอกจากจะใช้ความคิดสร้างสรรค์แล้วยังต้องใช้ฝีมือประดิษฐ์ประดอยให้สวยงาม น่าลิ้มลอง และอร่อย ดังนั้นหัวใจสำคัญในการท าขนมจีบให้อร่อยนั้นคือ จะต้องใส่ใจลงไปกับขนมจีบนั่นเอง เมื่อขนมจีบเริ่มมาจากความคิดสร้างสรรค์ ดังนั้นรูปแบของอาหารชนิดนี้จึงมีการพัฒนารูปแบบออกไปมากมายไม่มีที่สิ้นสุด เมนูขนมจีบจึงมีหลากหลายเป็นพัน ๆ ชื่อ แล้วแต่ว่าเชฟคนไหนจะคิดเมนูอะไรขึ้นมา ซึ่งจะต้องอยู่ในกระบวนการ นึ่ง อบ ทอด แช่เย็น เป็นต้น แต่การทำขนมจีบนั้นกับไม่ใช่เรื่อง ง่าย ๆ เชฟหยิบ ผู้เชี่ยวชาญด้านอาหารจีน ได้กล่าวถึงอาชีพเชฟขนมจีบว่าจะทำเฉพาะขนมจีบเท่านั้น ไม่ปะปนกับเชฟทำอาหารทั่วไป แต่กว่าจะมาเป็นเชฟทำขนมจีบได้นั้น
จะต้องผ่านการฝึกฝนมาไม่ต่ำกว่า 3 ปี (เชฟหยิบ : 2552 )