บทคัดย่อการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต การแปล - บทคัดย่อการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประส

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา2) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ปี 4มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ จำนวน 85 คน โดยกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ไดจากการใช้เทคนิคการสุ่มอย่างง่าย จากตารางของ Krejcie and Morgan สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และ F-Test One Way ANOVA
ผลวิจัยพบว่า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของประชากร
เพศ พบว่านักศึกที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศ ชาย ทั้งหมด 36 คน คิดเป็นร้อยละ 51.4 มีจำนวนนักศึกษาเพศหญิงที่ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 34 คน คิดเป็นร้อยละ 48.6 สรุปผลว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงน้อยกว่าเพศชาย
หมู่เรียน พบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม หมู่ 2 มีนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมากที่สุด ซึ่งมีทั้งหมด 24 คน คิดเป็นร้อยละ 34.3 และเท่ากันอีก 2 หมู่คือ หมู่ที่ 1 และ หมู่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32.9
ส่วนที่ 2 ข้อมูลระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของผู้ที่ตอบแบบสอบถามของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ พบว่านักศึกษาตอบแบบสอบถามมีความพอใจมากที่สุด ด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 3.54 มีค่า S.D. เป็น 0.06 ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมาก ที่เหลืออยู่ในระดับปานกลาง คือด้านการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ด้านอิทธิของเพื่อน ด้านอิทธิพลของสื่อ และด้านอิทธิพลของวัฒนธรรม โดยมีคะแนน 3.42 มีค่า S.D. 0.17 มีคะแนน 3.37 มีค่า S.D. 0.27 มีคะแนน 3.41 มีค่า S.D. 0.04 และ มีคะแนน 3.15 มีค่า S.D. 0.26 ตามลำดับ
ส่วนที่ 3 ข้อมูลการทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน เกี่ยวกับความแตกต่างกันของประชากรกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ ความแตกต่างของเพศ ที่ตอบแบบสอบถาม และความแตกต่างของหมู่เรียนของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า
เพศชาย และ เพศหญิงมีความพึงพอใจรวมทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีหมู่เรียนต่างกันมีความพึงพอใจจากผลรวมในทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ไม่แตกต่างกัน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา2) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์3) นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์จำนวน 85 คนโดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ไดจากการใช้เทคนิคการสุ่มอย่างง่ายจากตารางของ Krejcie และมอร์แกนสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่า T ทดสอบและทดสอบหนึ่งวิเคราะห์ความแปรปรวนทาง
ผลวิจัยพบว่า
ข้อมูลทั่วไปของประชากรส่วนที่ 1
เพศพบว่านักศึกที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายทั้งหมด 36 คนคิดเป็นร้อยละ 51.4 มีจำนวนนักศึกษาเพศหญิงที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 34 คนคิดเป็นร้อยละ 486 สรุปผลว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงน้อยกว่าเพศชาย
หมู่เรียนพบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามหมู่ 2 มีนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมากที่สุดซึ่งมีทั้งหมด 24 คนคิดเป็นร้อยละ 343 และเท่ากันอีก 2 หมู่คือหมู่ที่ 1 และหมู่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32.9
ข้อมูลระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามส่วนที่ 2
ความพึงพอใจของผู้ที่ตอบแบบสอบถามของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์พบว่านักศึกษาตอบแบบสอบถามมีความพอใจมากที่สุด ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 354 มีค่า S.D. เป็น 006 ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมากที่เหลืออยู่ในระดับปานกลางคือด้านการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความสัมพันธ์ภายในครอบครัวด้านอิทธิของเพื่อนด้านอิทธิพลของสื่อและด้านอิทธิพลของวัฒนธรรมโดยมีคะแนน 342 มีค่า S.D. 0.17 มีคะแนน 3.37 มีค่า S.D. 0.27 มีคะแนน 3.41 มีค่า S.D. 0.04 และมีคะแนน 3.15 มีค่า S.D. 0.26 ตามลำดับ
ข้อมูลการทดสอบสมมติฐานส่วนที่ 3
การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างกันของประชากรกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือความแตกต่างของเพศที่ตอบแบบสอบถามและความแตกต่างของหมู่เรียนของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม
เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจรวมทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีหมู่เรียนต่างกันมีความพึงพอใจจากผลรวมในทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ไม่แตกต่างกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา2) เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ปี 4มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา ชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ จำนวน 85 คน โดยกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้ไดจากการใช้เทคนิคการสุ่มอย่างง่าย จากตารางของ Krejcie and Morgan สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า T-test และ F-Test One Way ANOVA
ผลวิจัยพบว่า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของประชากร
เพศ พบว่านักศึกที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศ ชาย ทั้งหมด 36 คน คิดเป็นร้อยละ 51.4 มีจำนวนนักศึกษาเพศหญิงที่ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 34 คน คิดเป็นร้อยละ 48.6 สรุปผลว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงน้อยกว่าเพศชาย
หมู่เรียน พบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม หมู่ 2 มีนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมากที่สุด ซึ่งมีทั้งหมด 24 คน คิดเป็นร้อยละ 34.3 และเท่ากันอีก 2 หมู่คือ หมู่ที่ 1 และ หมู่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32.9
ส่วนที่ 2 ข้อมูลระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม
ความพึงพอใจของผู้ที่ตอบแบบสอบถามของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ พบว่านักศึกษาตอบแบบสอบถามมีความพอใจมากที่สุด ด้านอิทธิพลของชุมชนและสังคม ซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 3.54 มีค่า S.D. เป็น 0.06 ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมาก ที่เหลืออยู่ในระดับปานกลาง คือด้านการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ด้านอิทธิของเพื่อน ด้านอิทธิพลของสื่อ และด้านอิทธิพลของวัฒนธรรม โดยมีคะแนน 3.42 มีค่า S.D. 0.17 มีคะแนน 3.37 มีค่า S.D. 0.27 มีคะแนน 3.41 มีค่า S.D. 0.04 และ มีคะแนน 3.15 มีค่า S.D. 0.26 ตามลำดับ
ส่วนที่ 3 ข้อมูลการทดสอบสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน เกี่ยวกับความแตกต่างกันของประชากรกลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือ ความแตกต่างของเพศ ที่ตอบแบบสอบถาม และความแตกต่างของหมู่เรียนของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า
เพศชาย และ เพศหญิงมีความพึงพอใจรวมทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีหมู่เรียนต่างกันมีความพึงพอใจจากผลรวมในทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ ไม่แตกต่างกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อศึกษาพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษา 1 ) 2 ) 3 ) 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจในการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา .นักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาชั้นปีที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์จำนวน 85 คนโดยกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ไดจากการใช้เทคนิคการสุ่มอย่างง่ายจากตารางของ Krejcie และ Morgan สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานค่าค่า ANOVA t-test และ
วิธีหนึ่งผลวิจัยพบว่า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของประชากร
เพศพบว่านักศึกที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศชายทั้งหมด 36 คนคิดเป็นร้อยละ Top มีจำนวนนักศึกษาเพศหญิงที่ตอบแบบสอบถามทั้งหมด 34 คนคิดเป็นร้อยละ 486 สรุปผลว่าผู้ที่ตอบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงน้อยกว่าเพศชาย
หมู่เรียนพบว่านักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามหมู่ 2 มีนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามมากที่สุดซึ่งมีทั้งหมด 24 คนคิดเป็นร้อยละ 34 .3 และเท่ากันอีก 2 หมู่คือหมู่ที่ 1 และหมู่ 3 ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 32.9 ส่วนที่ข้อมูลระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถาม

2ความพึงพอใจของผู้ที่ตอบแบบสอบถามของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์พบว่านักศึกษาตอบแบบสอบถามมีความพอใจมากที่สุดซึ่งมีคะแนนเฉลี่ย 354 มีค่า S.D . เป็น 006 ระดับความพึงพอใจอยู่ที่ระดับมากที่เหลืออยู่ในระดับปานกลางคือด้านการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวและความสัมพันธ์ภายในครอบครัวด้านอิทธิของเพื่อนด้านอิทธิพลของสื่อและด้านอิทธิพลของวัฒนธรรมโดยมีคะแนน 342 มีค่า S.D . 0.17 มีคะแนน 3.37 มีค่า S.D . เท่ากับ 0.27 มีคะแนน 3.41 มีค่า S.D . 0.04 และมีคะแนน 3.15 มีค่า S.D . ตามลำดับส่วนที่ 3 ข้อมูลการทดสอบสมมติฐาน

,การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความแตกต่างกันของประชากรกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะด้วยกันคือความแตกต่างของเพศที่ตอบแบบสอบถามและความแตกต่างของหมู่เรียนของผู้ที่ตอบแบบสอบถาม
เพศชายและเพศหญิงมีความพึงพอใจรวมทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ไม่แตกต่างกัน
นักศึกษาที่มีหมู่เรียนต่างกันมีความพึงพอใจจากผลรวมในทุกด้านของปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการแต่งกายของนักศึกษาสาขาคอมพิวเตอร์ศึกษาปี 4 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์ไม่แตกต่างกัน
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: