บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัต การแปล - บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัต ไทย วิธีการพูด

บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิ

บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ของปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อศึกษากระบวนการแก้ไขปัญหา และเพื่อประเมินผลกระบวนการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสถานการณ์ ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบ ดำเนินงานตามกระบวนการ ระยะที่ 3 การประเมินผลกระบวนการ ผลการศึกษาพบปัญหา การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในครัวเรือน ร้อยละ 49.26 การกระทำผิดกฎหมาย ร้อยละ 54.89 และ มีการจัดให้มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เลี้ยงผู้เข้าร่วมงาน ร้อยละ 30.69 กระบวนการแก้ไขปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยการมีส่วนร่วม มี 8 ขั้นตอนสำคัญ คือ1.การค้นหาปัญหาและแจ้งสภาพปัญหาต่อชุมชน 2.การตั้งแกนนำคณะกรรมการดำเนินการ3.การเสริมสร้างศักยภาพแกนนำ4.การทำประชาคมเพื่อกำหนดแผนแก้ไขปัญหา 5.การนำแผนแก้ไขปัญหาไปดำเนินการ 6.การสร้างพื้นที่ต้นแบบ7.การถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8.การติดตามกำกับประเมินผล ซึ่งแกนนำชุมชนได้นำกระบวนการประชาคมไปสร้างการมีส่วนร่วม กำหนดจุดหมาย มาตรการ การแก้ปัญหา เช่น มีมาตรการและข้อตกลงชุมชนร่วมกันงดเหล้าในงานศพ งานบุญ วันสำคัญทางศาสนา ผู้นำชุมชน ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการ ลด ละ เลิก สุรา และ พบว่า พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (P-value 0.001) อุปสรรค คือ วิถีชีวิต ล้านนา ที่ยึดโยงกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในการประกอบพิธีการ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ คือผู้นำองค์กรเห็นความสำคัญและเป็นแบบอย่างที่ดี การดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ ก่อให้เกิดมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนการแก้ปัญหาในระยะยาว
คำสำคัญ : การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, การมีส่วนร่วมของชุมชน


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ของปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพื่อศึกษากระบวนการแก้ไขปัญหา และเพื่อประเมินผลกระบวนการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา แบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสถานการณ์ ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบ ดำเนินงานตามกระบวนการ ระยะที่ 3 การประเมินผลกระบวนการ ผลการศึกษาพบปัญหา การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในครัวเรือน ร้อยละ 49.26 การกระทำผิดกฎหมาย ร้อยละ 54.89 และ มีการจัดให้มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เลี้ยงผู้เข้าร่วมงาน ร้อยละ 30.69 กระบวนการแก้ไขปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยการมีส่วนร่วม มี 8 ขั้นตอนสำคัญ คือ1.การค้นหาปัญหาและแจ้งสภาพปัญหาต่อชุมชน 2.การตั้งแกนนำคณะกรรมการดำเนินการ3.การเสริมสร้างศักยภาพแกนนำ4.การทำประชาคมเพื่อกำหนดแผนแก้ไขปัญหา 5.การนำแผนแก้ไขปัญหาไปดำเนินการ 6.การสร้างพื้นที่ต้นแบบ7.การถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8.การติดตามกำกับประเมินผล ซึ่งแกนนำชุมชนได้นำกระบวนการประชาคมไปสร้างการมีส่วนร่วม กำหนดจุดหมาย มาตรการ การแก้ปัญหา เช่น มีมาตรการและข้อตกลงชุมชนร่วมกันงดเหล้าในงานศพ งานบุญ วันสำคัญทางศาสนา ผู้นำชุมชน ปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการ ลด ละ เลิก สุรา และ พบว่า พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (P-value 0.001) อุปสรรค คือ วิถีชีวิต ล้านนา ที่ยึดโยงกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในการประกอบพิธีการ ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ คือผู้นำองค์กรเห็นความสำคัญและเป็นแบบอย่างที่ดี การดำเนินการพร้อมกันทุกพื้นที่ ก่อให้เกิดมาตรการทางสังคม ขับเคลื่อนการแก้ปัญหาในระยะยาว คำสำคัญ : การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, การมีส่วนร่วมของชุมชน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บทคัดย่อ
หัวเรื่อง: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (การวิจัยเชิงปฏิบัติการ) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานการณ์ของปัญหาการ บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เพื่อศึกษากระบวนการแก้ไขปัญหาและเพื่อประเมินผลกระบวนการแก้ไขปัญหาในพื้นที่อำเภอเมืองพะเยาจังหวัดพะเยาแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสถานการณ์ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบดำเนินงานตามกระบวนการระยะ ที่ 3 การประเมินผลกระบวนการผลการศึกษาพบ ปัญหาการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในครัวเรือนร้อยละ 49.26 การกระทำผิดกฎหมายร้อยละ 54.89 และมีการจัดให้ มีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เลี้ยงผู้เข้าร่วม งานร้อยละ 30.69 กระบวนการแก้ไขปัญหาการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ โดยการมีส่วนร่วมมี 8 ขั้นตอนสำคัญคือ 1. การค้นหาปัญหาและแจ้งสภาพปัญหาต่อ ชุมชน 2. การตั้งแกนนำคณะกรรมการ ดำเนินการ 3. การเสริมสร้างศักยภาพแกนนำ 4. การทำประชาคมเพื่อกำหนดแผนแก้ไขปัญหา 5. การนำแผนแก้ไขปัญหาไปดำเนินการ 6. การสร้างพื้นที่ต้นแบบ 7. การถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8. การติดตามกำกับประเมินผล ซึ่งแกนนำชุมชนได้นำกระบวนการประชาคม ไปสร้างการมีส่วนร่วมกำหนดจุดหมายมาตรการการแก้ปัญหาเช่นมีมาตรการและข้อตกลงชุมชนร่วมกันงดเหล้าในงานศพงานบุญวันสำคัญทางศาสนาผู้นำชุมชนปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการ ลดละเลิกสุราและพบว่าพฤติกรรม การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (P-value 0.001) อุปสรรคคือวิถีชีวิตล้านนาที่ยึด โยงกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในการประกอบพิธีการปัจจัยที่ มีผลต่อความสามารถสำเร็จคือผู้นำองค์กรเห็นความสามารถสำคัญและเป็นแบบอย่างที่ดีหัวเรื่อง: การดำเนินหัวเรื่อง: การพร้อมกันทุกพื้นที่ก่อให้เกิดมาตรการทางสังคมขับเคลื่อนหัวเรื่อง: การแก้ปฐมวัยในห้างหุ้นส่วนจำกัดระยะยาว
คำสำคัญ: การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์, การมีส่วนร่วมของ ชุมชน


การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: