ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้เข้ามามีบทบ การแปล - ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้เข้ามามีบทบ ไทย วิธีการพูด

ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ ทั้




























ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้เข้ามามีบทบาทที่สำคัญเป็นอย่างมากต่อการดำเนินกระบวนการทางธุรกิจขององค์กรธุรกิจ ส่งผลให้องค์กรธุรกิจต่างก็พยายามทุกวิถีทางในการที่จะให้ได้มาซึ่งความสามารถและความได้เปรียบในการแข่งขันที่เหนือกว่าคู่แข่งขันทางธุรกิจ

ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจจะต้องหันมาทบทวนถึงกลยุทธ์หรือวิธีการที่ใช้ในการดำเนินงานว่ามีประสิทธิภาพและความเหมาะสมต่อสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใด และเนื่องจากแนวความคิดหรือวิธีการในการบริหารของผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจแบบเดิม ๆ ย่อมไม่สามารถที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จได้เหมือนในอดีต

ดังนั้นผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการกำหนดแผนการดำเนินงาน กลยุทธ์ขององค์กรให้เป็นไปในเชิงรุก ที่สามารถปรับเปลี่ยน ปรับปรุงให้เข้ากับเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายนอกและภายในองค์กร โดยใช้หลักการการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์ ซึ่งการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์ มีลักษณะที่สำคัญดังต่อไปนี้

1. เป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ ทิศทาง ภารกิจ และวัตถุประสงค์ขององค์กรอย่างเป็นระบบ เพื่อให้องค์กรมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน

2. เป็นการกำหนดวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร เพื่อให้บรรลุถึงทิศทางและวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดขึ้น โดยในการกำหนดแนวทางในการดำเนินงานนี้ องค์กรจะต้องวิเคราะห์และประเมินปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อคิดค้นแนวทางในการดำเนินงานที่เหมาะสมที่สุดกับองค์กร

3. เป็นการนำเอาวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินงานที่ได้คิดค้นขึ้นมาประยุกต์ใช้กับองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุถึงเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้

4. หัวหอกการวางแผนและการประยุกต์ใช้กลยุทธ์เป็นหน้าที่หลักของผู้บริหารองค์กร เมื่อเทียบกับหน้าที่อื่น ๆ ที่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบ ความสามารถของผู้บริหารในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน การจัดทำและปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ จัดเป็นหน้าที่มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อการดำเนินงานในระยะยาวขององค์กรธุรกิจ

5. การจัดการเชิงกลยุทธ์และการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์ จะมีความเกี่ยวข้องกันหรือมีผลต่อทิศทางในการดำเนินงานในระยะยาวขององค์กร

6. การตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์อาจจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ขององค์กร ตั้งแต่การเสาะแสวงหาทรัพยากรหรือความสามารถหลักที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน

7. การตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์จะเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในระดับต่าง ๆ ขององค์กร โดยการดำเนินงานในระดับต่าง ๆ ขององค์กรจะต้องสอดคล้องและเกื้อหนุนต่อกลยุทธ์ขององค์กร และความสามารถในการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติงานจะเป็นสาเหตุสำคัญต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวขององค์กร

8. กลยุทธ์ขององค์กรไม่เพียงแต่จะเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมภายนอก และปัจจัยภายในขององค์กรเท่านั้น แต่ค่านิยม ทัศนคติ ความคาดหวัง ของบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholder) มีผลต่อกลยุทธ์ ซึ่งบุคคลเหล่านี้ที่สำคัญได้แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้บริหารระดับสูง สังคม รัฐบาล และพนักงาน

9. การจัดการและการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์จะเป็นความพยายามในการให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร ซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันสามารถเกิดขึ้นจากการนำเสนอสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ คุณค่าเหมาะสมกับราคา


เหตุใดหน่วยงานต่างๆจึงให้ความสำคัญกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยมีหลักสำคัญดังต่อไปนี้
การจัดการองค์กรโดยทั่วไปนั้น จะมุ่งเน้นไปที่การพิจารณาถึงบทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารตามกระบวนการหรือขั้นตอนต่าง ๆ เช่น การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การชี้นำ (Directing) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งผู้บริหารขององค์กรที่มีหน้าที่ในการจัดทำกลยุทธ์จะต้องมีทักษะและความสามารถที่คล้ายคลึงกับผู้บริหารที่ทำหน้าที่ในการจัดการทั่วไป
.
กล่าวคือ การจัดทำกลยุทธ์ (Strategic Formulation) ซึ่งมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการวางแผน การปฏิบัติตามกลยุทธ์ (Strategic Implementation) ต้องอาศัยทักษะและความสามารถในการจัดองค์กร จัดคนเข้าทำงาน ชี้นำ และควบคุม เหมือนกับการจัดการทั่วไป

แต่ความแตกต่างของการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์กับการจัดการองค์กรโดยทั่ว ๆ ไปนั้นอยู่ที่การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะพิจารณาและคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะปัจจัยภายนอกองค์กรมากกว่า เช่น กฎระเบียบ กฎหมาย นโยบายภาครัฐ สังคม ประชาชน ผู้รับบริการ วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ ในขณะที่การจัดการองค์กรโดยทั่วไปนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การจัดการและบริหารงานภายในองค์กรมากกว่า
.
หรืออาจจะพิจารณาในอีกนัยหนึ่งได้ว่า การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะมุ่งเน้นไปที่การแข่งขันระหว่างองค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างความได้เปรียบของการแข่งขันในระยะยาว การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะทำให้ผู้บริหารมีความตื่นตัวและตระหนักถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมก่อให้เกิดโอกาสใหม่ ๆ หรือข้อจำกัดต่าง ๆ
.
รวมทั้งช่วยให้ผู้บริหารมีแนวความคิดในการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน ความเหมาะสม และความต้องการของหน่วยงานในด้านทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งด้าน การเงิน และทรัพยากรบุคคล ตลอดจนมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถดำเนินกลยุทธ์อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จในการบริหารงาน
.
* การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์เป็นการจัดการที่คำนึงถึงความต้องการและความสำคัญของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร (Stakeholders) หลายกลุ่ม อาทิเช่น ลูกค้า นโยบายภาครัฐ พันธมิตร สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งในการที่จะสามารถบริหารองค์กรให้ประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้บริหารจะต้องเรียนรู้ว่าการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ของตนจะเข้าไปมีผลกระทบหรือมีอิทธิพลกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กรแต่ละกลุ่มอย่างไรบ้าง
.
ในขณะที่การบริหารหรือการจัดการองค์กรโดยทั่วไปจะคำนึงถึงแต่เฉพาะฝ่ายหรือเฉพาะแผนกของตนเอง ซึ่งจะให้ความสำคัญต่อ Stakeholders ที่มีความเกี่ยวข้องกับตนเองมากกว่า Stakeholders ที่มีความเกี่ยวข้องกับทั้งองค์กร
.
* การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์เป็นการจัดการที่มุ่งเน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้เข้ามามีบทบาทที่สำคัญเป็นอย่างมากต่อการดำเนินกระบวนการทางธุรกิจขององค์กรธุรกิจส่งผลให้องค์กรธุรกิจต่างก็พยายามทุกวิถีทางในการที่จะให้ได้มาซึ่งความสามารถและความได้เปรียบในการแข่งขันที่เหนือกว่าคู่แข่งขันทางธุรกิจซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจจะต้องหันมาทบทวนถึงกลยุทธ์หรือวิธีการที่ใช้ในการดำเนินงานว่ามีประสิทธิภาพและความเหมาะสมต่อสภาวการณ์ที่เกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดและเนื่องจากแนวความคิดหรือวิธีการในการบริหารของผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจแบบเดิมๆ ย่อมไม่สามารถที่จะนำพาองค์กรไปสู่ความสำเร็จได้เหมือนในอดีต ดังนั้นผู้บริหารระดับสูงขององค์กรธุรกิจจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการกำหนดแผนการดำเนินงานกลยุทธ์ขององค์กรให้เป็นไปในเชิงรุกที่สามารถปรับเปลี่ยนปรับปรุงให้เข้ากับเงื่อนไขของการเปลี่ยนแปลงทั้งจากภายนอกและภายในองค์กรโดยใช้หลักการการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์ซึ่งการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์มีลักษณะที่สำคัญดังต่อไปนี้1. เป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ทิศทางภารกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กรอย่างเป็นระบบเพื่อให้องค์กรมีทิศทางและเป้าหมายที่ชัดเจน 2. เป็นการกำหนดวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินงานและกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร เพื่อให้บรรลุถึงทิศทางและวัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดขึ้น โดยในการกำหนดแนวทางในการดำเนินงานนี้ องค์กรจะต้องวิเคราะห์และประเมินปัจจัยต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อคิดค้นแนวทางในการดำเนินงานที่เหมาะสมที่สุดกับองค์กร3. เป็นการนำเอาวิธีการหรือแนวทางในการดำเนินงานที่ได้คิดค้นขึ้นมาประยุกต์ใช้กับองค์กร เพื่อให้องค์กรสามารถบรรลุถึงเป้าหมายที่ได้ตั้งเอาไว้4. หัวหอกการวางแผนและการประยุกต์ใช้กลยุทธ์เป็นหน้าที่หลักของผู้บริหารองค์กร เมื่อเทียบกับหน้าที่อื่น ๆ ที่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบ ความสามารถของผู้บริหารในการกำหนดแนวทางการดำเนินงาน การจัดทำและปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ จัดเป็นหน้าที่มีความสำคัญและมีอิทธิพลต่อการดำเนินงานในระยะยาวขององค์กรธุรกิจ5. การจัดการเชิงกลยุทธ์และการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์ จะมีความเกี่ยวข้องกันหรือมีผลต่อทิศทางในการดำเนินงานในระยะยาวขององค์กร6. การตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์อาจจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ขององค์กร ตั้งแต่การเสาะแสวงหาทรัพยากรหรือความสามารถหลักที่จำเป็นต้องใช้สำหรับการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน7. การตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์จะเกี่ยวข้องกับการดำเนินงานในระดับต่าง ๆ ขององค์กร โดยการดำเนินงานในระดับต่าง ๆ ขององค์กรจะต้องสอดคล้องและเกื้อหนุนต่อกลยุทธ์ขององค์กร และความสามารถในการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติงานจะเป็นสาเหตุสำคัญต่อความสำเร็จหรือความล้มเหลวขององค์กร8. กลยุทธ์ขององค์กรไม่เพียงแต่จะเกี่ยวข้องกับสภาวะแวดล้อมภายนอก และปัจจัยภายในขององค์กรเท่านั้น แต่ค่านิยม ทัศนคติ ความคาดหวัง ของบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholder) มีผลต่อกลยุทธ์ ซึ่งบุคคลเหล่านี้ที่สำคัญได้แก่ ผู้ถือหุ้น ผู้บริหารระดับสูง สังคม รัฐบาล และพนักงาน 9. การจัดการและการตัดสินใจทางด้านกลยุทธ์จะเป็นความพยายามในการให้ได้มาซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันขององค์กร ซึ่งความได้เปรียบทางการแข่งขันสามารถเกิดขึ้นจากการนำเสนอสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ คุณค่าเหมาะสมกับราคาเหตุใดหน่วยงานต่างๆจึงให้ความสำคัญกับการจัดการเชิงกลยุทธ์ โดยมีหลักสำคัญดังต่อไปนี้การจัดการองค์กรโดยทั่วไปนั้น จะมุ่งเน้นไปที่การพิจารณาถึงบทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารตามกระบวนการหรือขั้นตอนต่าง ๆ เช่น การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การจัดคนเข้าทำงาน (Staffing) การชี้นำ (Directing) และการควบคุม (Controlling) ซึ่งผู้บริหารขององค์กรที่มีหน้าที่ในการจัดทำกลยุทธ์จะต้องมีทักษะและความสามารถที่คล้ายคลึงกับผู้บริหารที่ทำหน้าที่ในการจัดการทั่วไป .กล่าวคือ การจัดทำกลยุทธ์ (Strategic Formulation) ซึ่งมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับการวางแผน การปฏิบัติตามกลยุทธ์ (Strategic Implementation) ต้องอาศัยทักษะและความสามารถในการจัดองค์กร จัดคนเข้าทำงาน ชี้นำ และควบคุม เหมือนกับการจัดการทั่วไป แต่ความแตกต่างของการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์กับการจัดการองค์กรโดยทั่ว ๆ ไปนั้นอยู่ที่การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะพิจารณาและคำนึงถึงปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะปัจจัยภายนอกองค์กรมากกว่า เช่น กฎระเบียบ กฎหมาย นโยบายภาครัฐ สังคม ประชาชน ผู้รับบริการ วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ ในขณะที่การจัดการองค์กรโดยทั่วไปนั้นจะมุ่งเน้นไปที่การจัดการและบริหารงานภายในองค์กรมากกว่า .หรืออาจจะพิจารณาในอีกนัยหนึ่งได้ว่า การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะมุ่งเน้นไปที่การแข่งขันระหว่างองค์กรต่าง ๆ เพื่อสร้างความได้เปรียบของการแข่งขันในระยะยาว การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์จะทำให้ผู้บริหารมีความตื่นตัวและตระหนักถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมก่อให้เกิดโอกาสใหม่ ๆ หรือข้อจำกัดต่าง ๆ .รวมทั้งช่วยให้ผู้บริหารมีแนวความคิดในการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน ความเหมาะสม และความต้องการของหน่วยงานในด้านทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งด้าน การเงิน และทรัพยากรบุคคล ตลอดจนมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาเพื่อให้สามารถดำเนินกลยุทธ์อย่างมีประสิทธิภาพและประสบความสำเร็จในการบริหารงาน.* การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์เป็นการจัดการที่คำนึงถึงความต้องการและความสำคัญของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร (Stakeholders) หลายกลุ่ม อาทิเช่น ลูกค้า นโยบายภาครัฐ พันธมิตร สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งในการที่จะสามารถบริหารองค์กรให้ประสบความสำเร็จได้นั้น ผู้บริหารจะต้องเรียนรู้ว่าการตัดสินใจในด้านต่าง ๆ ของตนจะเข้าไปมีผลกระทบหรือมีอิทธิพลกับผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กรแต่ละกลุ่มอย่างไรบ้าง .
ในขณะที่การบริหารหรือการจัดการองค์กรโดยทั่วไปจะคำนึงถึงแต่เฉพาะฝ่ายหรือเฉพาะแผนกของตนเอง ซึ่งจะให้ความสำคัญต่อ Stakeholders ที่มีความเกี่ยวข้องกับตนเองมากกว่า Stakeholders ที่มีความเกี่ยวข้องกับทั้งองค์กร
.
* การจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์เป็นการจัดการที่มุ่งเน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!



























ปัจจุบันเงื่อนไขและปัจจัยต่าง ๆ ๆ ที่สามารถปรับเปลี่ยน ซึ่งการจัดการองค์กรเชิงกลยุทธ์มีลักษณะที่สำคัญดังต่อไปนี้1 เป็นการกำหนดวิสัยทัศน์ทิศทางภารกิจ ๆ ขององค์กร ๆ ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เมื่อเทียบกับหน้าที่อื่น ๆ ที่ผู้บริหารต้องรับผิดชอบ การจัดทำและปฏิบัติตามแผนกลยุทธ์ ๆ ขององค์กร ๆ ขององค์กรโดยการดำเนินงานในระดับต่าง ๆ และความสามารถในการดำเนินงาน และปัจจัยภายในขององค์กรเท่านั้น แต่ค่านิยมทัศนคติความคาดหวังของบุคคลฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร (ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย) มีผลต่อกลยุทธ์ซึ่งบุคคลเหล่านี้ที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ถือหุ้นผู้บริหารระดับสูงสังคมรัฐบาลและพนักงาน 9 ๆ เช่นการวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (จัด) การจัดคนเข้าทำงาน (พนักงาน) การชี้นำ (ผู้กำกับ) และการควบคุม (Controlling) การจัดทำกลยุทธ์ (Strategic สูตร) การปฏิบัติตามกลยุทธ์ (Strategic การดำเนินงาน) จัดคนเข้าทำงานชี้นำและควบคุม ๆ ๆ โดยเฉพาะปัจจัยภายนอกองค์กรมากกว่าเช่นกฎระเบียบกฎหมายนโยบายภาครัฐสังคมประชาชนผู้รับบริการวัฒนธรรมเทคโนโลยี ฯลฯ ๆ ๆ หรือข้อ จำกัด ต่าง จุดอ่อนความเหมาะสม ๆ ทั้งด้านการเงินและทรัพยากรบุคคล (ผู้มีส่วนได้เสีย) หลายกลุ่มอาทิเช่นลูกค้านโยบายภาครัฐพันธมิตรสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยี ฯลฯ ๆ ซึ่งจะให้ความสำคัญต่อผู้มีส่วนได้เสีย ผู้มีส่วนได้เสียที่มีความเกี่ยวข้องกับทั้งองค์กร. *







































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: