พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ซึ่งสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๐ หรือระหว่างปี พ. การแปล - พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ซึ่งสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๐ หรือระหว่างปี พ. ไทย วิธีการพูด

พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ซึ่งสร้างในพ

พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ซึ่งสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๐ หรือระหว่างปี พ.ศ. ๑๖๐๐-๒๐๐๐ โดยเป็นฝีมือของช่างชาวไทยในมณฑลพายัพ แต่มีพบมากและมีความสวยงาม คือ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นักโบราณคดีจึงใช้ชื่อเมืองเชียงแสนในการกำหนดพุทธศิลป์ และยกย่องว่าเป็นพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์ และเข้าถึงศิลป์เชียงแสนอย่างแท้จริง
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน แบ่งออกเป็น สิงห์หนึ่ง,สิงห์สอง และสิงห์สาม มีผู้กล่าวถึงที่มาของคำว่า สิงห์ ที่หมายถึงความสง่างามของพุทธลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนเป็นฝีมือช่างไทย ซึ่งได้เข้ามาตั้งภูมิลำเนาอยู่ในมณฑลพายัพ นักโบราณคดีได้กำหนดพระพุทธรูปสมัยนี้ แบ่งออกเป็นสองรุ่นคือ รุ่นแรก และ รุ่นหลัง
รุ่นแรกทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปอินเดีย สมัยราชวงศ์ปาละอินเดีย พ.ศ. ๑๒๗๓-๑๗๔๐ ลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกับพระพุทธรูปอินเดีย ราชวงศ์ปาละ คือ พระองค์อวบอ้วน พระรัศมีเป็นต่อมกลมนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์มารวิชัย พระอุระนูน ชายสังฆาฎิอยู่เหนือราวพระถันพระพักตร์กลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่เป็นต่อมกลมหรือเป็นเส้นหอยไม่มีไรพระศก ฐานบัวมีรอง ทั้งบัวคว่ำบัวหงายฐานเขียงไม่มีบัวฐานเขียงบัวมีกลีบแซมและมีเกสร
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นหลัง เป็นฝีมือช่างไทยชาวลานนาและลานช้างทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีลักษณะต่างไปจากสมัยเชียงแสนรุ่นแรกคือ ทำพระรัศมีเป็นเปลว นั่งขัดสมาธิราบ ชายสังฆาฎิยาว เส้นพระศกละเอียด มีไรพระศก รัศมีเป็นเปลว กล่าวโดยสรุป พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนปัจจุบันนิยมแบ่งออกเป็น สิงห์หนึ่ง , สิงห์สอง และสิงห์สาม
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์หนึ่ง ลักษณะองค์พระจะอวบอ้วน พระรัศมี หรือพระเกตุมาลาเป็นต่อมกลม(รูปดอกบัวตูม) ไม่ปรากฏไรพระศก ส่วนเม็ดพระศกเป็นต่อมกลมหรือก้นหอยวงพระพักตร์ค่อนข้างกลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม จีวรแนบเนื้อ พระอุระผึ่งผาย พระถันเป็นเต้างามดังดอกบัวพระสังฆาฎิเป็นแฉกคล้ายหางนกแซงแซวหรือคล้ายเงี้ยวตะขาบ มีชายเดียวหรือซ้อนกันหลายชั้นชายผ้าสังฆาฎิเหนือพระถัน
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์สอง ผู้รู้กำหนดว่าชายผ้าสังฆาฎิจะเลยพระถันลงมาเล็กน้อย และพุทธลักษณะอื่นๆคล้ายกัน แตกต่างกันที่สังฆาฎิ
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์สาม ลักษณะองค์พระคล้ายพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยพระเกตุมาลาเป็นรัศมีเปลว บางองค์มีเส้นไรพระศกทำเป็นเม็ดกลมหรือขมวดก้นหอย พระพักตร์รูปวงรีคล้ายผลมะตูม พระนาลาฎเรียบเต็ม พระโขนงโก่งพองาม ปลายพระโขนงตกหางพระเนตร ชายผ้าสังฆฎิจรดที่พระอุทร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสน ซึ่งสร้างในพุทธศตวรรษที่ ๑๖-๒๐ หรือระหว่างปี พ.ศ. ๑๖๐๐-๒๐๐๐ โดยเป็นฝีมือของช่างชาวไทยในมณฑลพายัพ แต่มีพบมากและมีความสวยงาม คือ อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นักโบราณคดีจึงใช้ชื่อเมืองเชียงแสนในการกำหนดพุทธศิลป์ และยกย่องว่าเป็นพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์ และเข้าถึงศิลป์เชียงแสนอย่างแท้จริงพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน แบ่งออกเป็น สิงห์หนึ่ง,สิงห์สอง และสิงห์สาม มีผู้กล่าวถึงที่มาของคำว่า สิงห์ ที่หมายถึงความสง่างามของพุทธลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนเป็นฝีมือช่างไทย ซึ่งได้เข้ามาตั้งภูมิลำเนาอยู่ในมณฑลพายัพ นักโบราณคดีได้กำหนดพระพุทธรูปสมัยนี้ แบ่งออกเป็นสองรุ่นคือ รุ่นแรก และ รุ่นหลังรุ่นแรกทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปอินเดีย สมัยราชวงศ์ปาละอินเดีย พ.ศ. ๑๒๗๓-๑๗๔๐ ลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกับพระพุทธรูปอินเดีย ราชวงศ์ปาละ คือ พระองค์อวบอ้วน พระรัศมีเป็นต่อมกลมนั่งขัดสมาธิเพชร พระหัตถ์มารวิชัย พระอุระนูน ชายสังฆาฎิอยู่เหนือราวพระถันพระพักตร์กลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่เป็นต่อมกลมหรือเป็นเส้นหอยไม่มีไรพระศก ฐานบัวมีรอง ทั้งบัวคว่ำบัวหงายฐานเขียงไม่มีบัวฐานเขียงบัวมีกลีบแซมและมีเกสรพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นหลัง เป็นฝีมือช่างไทยชาวลานนาและลานช้างทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปสมัยสุโขทัย มีลักษณะต่างไปจากสมัยเชียงแสนรุ่นแรกคือ ทำพระรัศมีเป็นเปลว นั่งขัดสมาธิราบ ชายสังฆาฎิยาว เส้นพระศกละเอียด มีไรพระศก รัศมีเป็นเปลว กล่าวโดยสรุป พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนปัจจุบันนิยมแบ่งออกเป็น สิงห์หนึ่ง , สิงห์สอง และสิงห์สามพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์หนึ่ง ลักษณะองค์พระจะอวบอ้วน พระรัศมี หรือพระเกตุมาลาเป็นต่อมกลม(รูปดอกบัวตูม) ไม่ปรากฏไรพระศก ส่วนเม็ดพระศกเป็นต่อมกลมหรือก้นหอยวงพระพักตร์ค่อนข้างกลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม จีวรแนบเนื้อ พระอุระผึ่งผาย พระถันเป็นเต้างามดังดอกบัวพระสังฆาฎิเป็นแฉกคล้ายหางนกแซงแซวหรือคล้ายเงี้ยวตะขาบ มีชายเดียวหรือซ้อนกันหลายชั้นชายผ้าสังฆาฎิเหนือพระถันพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์สอง ผู้รู้กำหนดว่าชายผ้าสังฆาฎิจะเลยพระถันลงมาเล็กน้อย และพุทธลักษณะอื่นๆคล้ายกัน แตกต่างกันที่สังฆาฎิพระพุทธรูปสมัยเชียงแสน สิงห์สาม ลักษณะองค์พระคล้ายพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยพระเกตุมาลาเป็นรัศมีเปลว บางองค์มีเส้นไรพระศกทำเป็นเม็ดกลมหรือขมวดก้นหอย พระพักตร์รูปวงรีคล้ายผลมะตูม พระนาลาฎเรียบเต็ม พระโขนงโก่งพองาม ปลายพระโขนงตกหางพระเนตร ชายผ้าสังฆฎิจรดที่พระอุทร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนซึ่งสร้างในพุทธศตวรรษที่๑๖ - ๒๐หรือระหว่างปีพ . ศ . ๑๖๐๐ - ๒๐๐๐โดยเป็นฝีมือของช่างชาวไทยในมณฑลพายัพแต่มีพบมากและมีความสวยงามความอำเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงรายนักโบราณคดีจึงใช้ชื่อเมืองเชียงแสนในการกำหนดพุทธศิลป์และยกย่องว่าเป็นพุทธศิลป์ที่มีเอกลักษณ์และเข้าถึงศิลป์เชียงแสนอย่างแท้จริงพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนแบ่งออกเป็นสิงห์หนึ่งสิงห์สองและสิงห์สาม , มีผู้กล่าวถึงที่มาของคำว่าสิงห์ที่หมายถึงความสง่างามของพุทธลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนเป็นฝีมือช่างไทยซึ่งได้เข้ามาตั้งภูมิลำเนาอยู่ในมณฑลพายัพนักโบราณคดีได้กำหนดพระพุทธรูปสมัยนี้แบ่ง ออกเป็นสองรุ่นคือรุ่นแรกและรุ่นหลังรุ่นแรกทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปอินเดียสมัยราชวงศ์ปาละอินเดียพ . ศ . ๑๒๗๓ - ๑๗๔๐ลักษณะพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกับพระพุทธรูปอินเดียราชวงศ์ปาละความพระองค์อวบอ้วนพระรัศมีเป็นต่อมกลมนั่งขัดสมาธิเพชรพระหัตถ์มารวิชัยพระอุระนูนชายสังฆาฎิอยู่เหนือราวพระถันพระพักตร์กลมสั้นพระโขนงโก่งพระนาสิกงุ้มพระโอษฐ์เ ล็กพระหนุเป็นปมเส้นพระศกใหญ่เป็นต่อมกลมหรือเป็นเส้นหอยไม่มีไรพระศกฐานบัวมีรองทั้งบัวคว่ำบัวหงายฐานเขียงไม่มีบัวฐานเขียงบัวมีกลีบแซมและมีเกสรพระพุทธรูปสมัยเชียงแสนรุ่นหลังเป็นฝีมือช่างไทยชาวลานนาและลานช้างทำตามแบบอย่างพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยมีลักษณะต่างไปจากสมัยเชียงแสนรุ่นแรกคือทำพระรัศมีเป็นเปลวนั่งขัดสมาธิราบชายสังฆาฎิยาวเส้นพระศกละเอียดมีไรพระศกรัศมีเป็นเปลวกล่าวโดยสรุปพระพุทธรูปสมั ยเชียงแสนปัจจุบันนิยมแบ่งออกเป็นสิงห์หนึ่งสิงห์สองและสิงห์สาม ,พระพุทธรูปสมัยเชียงแสนสิงห์หนึ่งลักษณะองค์พระจะอวบอ้วนพระรัศมีหรือพระเกตุมาลาเป็นต่อมกลม ( รูปดอกบัวตูม ) ไม่ปรากฏไรพระศกส่วนเม็ดพระศกเป็นต่อมกลมหรือก้นหอยวงพระพักตร์ค่อนข้างกลมสั้นพระโขนงโก่งพระนาสิกงุ้มพระโอษฐ์เล็กพระหนุเป็นปมจีวรแนบเนื้อพระอุระผึ่ง ผายพระถันเป็นเต้างามดังดอกบัวพระสังฆาฎิเป็นแฉกคล้ายหางนกแซงแซวหรือค
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: