ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทยนั้น นอกจากจะสร้าง “ข้าวปลา” ที่เป็ การแปล - ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทยนั้น นอกจากจะสร้าง “ข้าวปลา” ที่เป็ ไทย วิธีการพูด

ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทย

ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทยนั้น นอกจากจะสร้าง “ข้าวปลา” ที่เป็น ”ของจริง”ให้แก่ชาวไทยและผู้คนทั่วโลกมายาวนานแล้ว ในแต่ละปี เศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรหลายชนิดจำนวนมากสามารถนำกลับมาใช้เป็นพลังงานชีวมวลได้ แต่มีไม่มากคนนักที่จะทราบว่า นอกจากเหล่าเศษชีวมวลที่ได้จากการเกษตรแล้ว ภาคเกษตรกรรมยังสร้างชีวมวลอีกประเภทหนึ่ง ที่ได้มาจากการเลี้ยงสัตว์ในรูปของ “ก๊าซชีวภาพ (Biogas)” ที่เปี่ยมด้วยพลังงานที่ให้ค่าที่แน่นอน มีศักยภาพสูงและยังถูกมองข้าม
แหล่งกำเนิดก๊าซชีวภาพที่มีต้นทุนต่ำและมีปริมาณสูงของประเทศ มาจากสองแหล่งหลักคือ ของเสียหรือน้ำเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตร เช่น น้ำเสียจากโรงฆ่าสัตว์ หรือ โรงงานผลิตผลไม้หรือเครื่องดื่มกระป๋อง และมาจาก มูลสัตว์ (Animal dung) จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในภาคเกษตรกรรม


โลกกับก๊าซชีวภาพ·
ย้อนหลังไปประมาณสามพันปีก่อน ประเทศ Assyria ซึ่งเป็นดินแดนในอดีตที่เคยตั้งในแถบตะวันตกของทวีปเอเชียสมัยโบราณ คือประเทศแรกที่ได้มีการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ในการให้ความร้อนในการต้มน้ำอาบ หลังจากนั้นพบว่ามีการใช้ก๊าซชีวภาพในลักษณะเดียวกันในแถบเปอร์เซีย ในช่วงประมาณห้าร้อยปีที่ผ่านมา
แต่เมื่อพิจารณาถึงหลักฐานการบันทึกในยุโรป พบว่าในปี พ.ศ.2173 Jan Baptita Van Helmont เป็นบุคคลแรกที่ค้นพบว่ามีก๊าซเกิดขึ้นจากการเน่าเปื่อยของซากสารอินทรีย์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2351 Sir Humphrey Davy ได้พบว่าในบ่อปุ๋ยคอกนั้น มีก๊าซมีเธนเกิดขึ้นและน่าจะนำไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างไรก็ตาม อินเดียเป็นประเทศแรกที่มีการใช้ก๊าซชีวภาพอย่างเป็นระบบจริงจัง โดยมีรายงานว่าในปี พ.ศ.2402 มีการสร้างระบบที่เรียกว่า Anaerobic digestion (AD) plant เป็นครั้งแรกในนิคมโรคเรื้อน Matunga ที่เมืองบอมเบย์ และนำพลังงานชีวภาพที่ได้ไปใช้งานภายในนิคม หลังจากนั้น แนวคิดการใช้ก๊าซชีวภาพนี้ก็แพร่ไปสู่ประเทศอังกฤษและประเทศอื่นๆทั่วโลกในที่สุด
ระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบ AD จะอาศัยเทคโนโลยีที่ทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์หลายชนิด ทำหน้าที่หมักย่อยสารอินทรีย์ที่ได้จากแหล่งต่างๆ เช่น จากน้ำเสียที่ได้จากโรงงาน หรือน้ำมูลสัตว์ที่ได้จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ให้มาอยู่ในรูปของเหลวในสภาพไร้อากาศ ทำให้สารอินทรีย์จากของเสียดังกล่าวนั้น ถูกย่อยสลายลดปริมาณลง และเปลี่ยนรูปไปเป็นมีเธนและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ในระยะเวลาประมาณ 1 เดือน ระบบ AD นี้เป็นระบบที่นิยมใช้ในปัจจุบัน
สิ่งที่ทำให้ก๊าซชีวภาพมีความสำคัญในเชิงพลังงานคือ ปริมาณส่วนประกอบของ “มีเธน” ที่มีอยู่ประมาณ 55-70% ในก๊าซชีวภาพ (ที่เหลือจะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 25-35% และเป็นไนโตรเจนและไฮโดรเจนซัลไฟด์ในส่วนที่เหลือ) และเป็นก๊าซมีเธนที่มีในปริมาณสูงนี่เอง ที่ทำให้ก๊าซชีวภาพมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นก๊าซสะอาด นั่นหมายความว่า หากมีการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ในเชิงพลังงาน เช่น การนำไปใช้ในการหุงต้ม การเผาไหม้ของก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นจะติดไฟได้ดี และปล่อยมลพิษในระดับที่ต่ำกว่าการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วไปมาก

สถานการณ์มูลสัตว์ในประเทศไทย
จากข้อมูลของ กรมปศุสัตว์ พบว่า ในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีปริมาณโค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ และช้าง รวมกันกว่า 214 ล้านตัว มูลของสัตว์ทั้ง 6 ชนิดนี้เป็นประเภทที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะสามารถนำมาใช้ผลิตก๊าซชีวภาพ โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ประเมินศักยภาพของพลังงานที่ได้จากมูลสัตว์ดังกล่าว โดยได้พิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการเก็บหรือนำมูลสัตว์เหล่านั้นกลับมาใช้ตามสภาพความเป็นจริง เช่น โคเนื้อ กระบือ เป็ด และช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ที่เลี้ยงในพื้นที่เปิด จะมีอัตราส่วนของมูลที่น่าจะเก็บได้ไม่เกิน 50% ในขณะที่โคนม สุกร และไก่ ซึ่งจะมีลักษณะการเลี้ยงที่มิดชิดในฟาร์มหรือโรงเลี้ยงที่เป็นระบบมากกว่า อาจสามารถเก็บมูลมาใช้ได้มากถึง 80% ของมูลที่ถ่ายออกมาทั้งหมด อีกทั้งฟาร์มเลี้ยงสัตว์จะเป็นสาเหตุของน้ำเสียจำนวนมาก ซึ่งหากมีการออกแบบระบบที่เหมาะสม จะสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้จากทั้งมูลสัตว์และน้ำเสียได้เป็นจำนวนมาก
อัตราส่วนของมูลที่สามารถเก็บได้นี้มีความสำคัญมาก เพราะหากกสิกร หรือเกษตรกร สามารถจัดทำระบบโรงเลี้ยงที่เอื้ออำนวยต่อการไหล และถ่ายเทของมูลสัตว์ที่ถูกขับถ่ายออกมา จะทำให้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ได้มีปริมาณเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทยนั้นนอกจากจะสร้าง "ข้าวปลา" ที่เป็น "ของจริง" ให้แก่ชาวไทยและผู้คนทั่วโลกมายาวนานแล้วในแต่ละปีเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรหลายชนิดจำนวนมากสามารถนำกลับมาใช้เป็นพลังงานชีวมวลได้แต่มีไม่มากคนนักที่จะทราบว่านอกจากเหล่าเศษชีวมวลที่ได้จากการเกษตรแล้วภาคเกษตรกรรมยังสร้างชีวมวลอีกประเภทหนึ่งที่ได้มาจากการเลี้ยงสัตว์ในรูปของ "ก๊าซชีวภาพ (ก๊าซชีวภาพ)" ที่เปี่ยมด้วยพลังงานที่ให้ค่าที่แน่นอนมีศักยภาพสูงและยังถูกมองข้ามแหล่งกำเนิดก๊าซชีวภาพที่มีต้นทุนต่ำและมีปริมาณสูงของประเทศมาจากสองแหล่งหลักคือของเสียหรือน้ำเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตรเช่นน้ำเสียจากโรงฆ่าสัตว์หรือโรงงานผลิตผลไม้หรือเครื่องดื่มกระป๋องและมาจากมูลสัตว์ (มูลสัตว์) จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในภาคเกษตรกรรม โลกกับก๊าซชีวภาพ·ย้อนหลังไปประมาณสามพันปีก่อนประเทศอัสซีเรียซึ่งเป็นดินแดนในอดีตที่เคยตั้งในแถบตะวันตกของทวีปเอเชียสมัยโบราณคือประเทศแรกที่ได้มีการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ในการให้ความร้อนในการต้มน้ำอาบหลังจากนั้นพบว่ามีการใช้ก๊าซชีวภาพในลักษณะเดียวกันในแถบเปอร์เซียในช่วงประมาณห้าร้อยปีที่ผ่านมาแต่เมื่อพิจารณาถึงหลักฐานการบันทึกในยุโรปพบว่าในปี พ.ศ.2173 Jan Baptita Van Helmont เป็นบุคคลแรกที่ค้นพบว่ามีก๊าซเกิดขึ้นจากการเน่าเปื่อยของซากสารอินทรีย์และต่อมาในปีพ.ศ. 2351 Sir ฟรีย์เดวีได้พบว่าในบ่อปุ๋ยคอกนั้นมีก๊าซมีเธนเกิดขึ้นและน่าจะนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไรก็ตามอินเดียเป็นประเทศแรกที่มีการใช้ก๊าซชีวภาพอย่างเป็นระบบจริงจังโดยมีรายงานว่าในปี พ.ศ.2402 มีการสร้างระบบที่เรียกว่าย่อยอาหารรวมชนิดไร้อากาศ (AD) พืชเป็นครั้งแรกในนิคมโรคเรื้อน Matunga ที่เมืองบอมเบย์และนำพลังงานชีวภาพที่ได้ไปใช้งานภายในนิคมหลังจากนั้นแนวคิดการใช้ก๊าซชีวภาพนี้ก็แพร่ไปสู่ประเทศอังกฤษและประเทศอื่นๆทั่วโลกในที่สุดระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบ AD จะอาศัยเทคโนโลยีที่ทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์หลายชนิด ทำหน้าที่หมักย่อยสารอินทรีย์ที่ได้จากแหล่งต่างๆ เช่น จากน้ำเสียที่ได้จากโรงงาน หรือน้ำมูลสัตว์ที่ได้จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ให้มาอยู่ในรูปของเหลวในสภาพไร้อากาศ ทำให้สารอินทรีย์จากของเสียดังกล่าวนั้น ถูกย่อยสลายลดปริมาณลง และเปลี่ยนรูปไปเป็นมีเธนและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ในระยะเวลาประมาณ 1 เดือน ระบบ AD นี้เป็นระบบที่นิยมใช้ในปัจจุบันสิ่งที่ทำให้ก๊าซชีวภาพมีความสำคัญในเชิงพลังงานคือ ปริมาณส่วนประกอบของ “มีเธน” ที่มีอยู่ประมาณ 55-70% ในก๊าซชีวภาพ (ที่เหลือจะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 25-35% และเป็นไนโตรเจนและไฮโดรเจนซัลไฟด์ในส่วนที่เหลือ) และเป็นก๊าซมีเธนที่มีในปริมาณสูงนี่เอง ที่ทำให้ก๊าซชีวภาพมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับก๊าซธรรมชาติ ซึ่งเป็นก๊าซสะอาด นั่นหมายความว่า หากมีการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ในเชิงพลังงาน เช่น การนำไปใช้ในการหุงต้ม การเผาไหม้ของก๊าซชีวภาพที่เกิดขึ้นจะติดไฟได้ดี และปล่อยมลพิษในระดับที่ต่ำกว่าการใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วไปมาก สถานการณ์มูลสัตว์ในประเทศไทยจากข้อมูลของ กรมปศุสัตว์ พบว่า ในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีปริมาณโค กระบือ สุกร เป็ด ไก่ และช้าง รวมกันกว่า 214 ล้านตัว มูลของสัตว์ทั้ง 6 ชนิดนี้เป็นประเภทที่มีศักยภาพเพียงพอที่จะสามารถนำมาใช้ผลิตก๊าซชีวภาพ โดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน (พพ.) ได้ประเมินศักยภาพของพลังงานที่ได้จากมูลสัตว์ดังกล่าว โดยได้พิจารณาถึงความเป็นไปได้ในการเก็บหรือนำมูลสัตว์เหล่านั้นกลับมาใช้ตามสภาพความเป็นจริง เช่น โคเนื้อ กระบือ เป็ด และช้าง ซึ่งเป็นสัตว์ที่เลี้ยงในพื้นที่เปิด จะมีอัตราส่วนของมูลที่น่าจะเก็บได้ไม่เกิน 50% ในขณะที่โคนม สุกร และไก่ ซึ่งจะมีลักษณะการเลี้ยงที่มิดชิดในฟาร์มหรือโรงเลี้ยงที่เป็นระบบมากกว่า อาจสามารถเก็บมูลมาใช้ได้มากถึง 80% ของมูลที่ถ่ายออกมาทั้งหมด อีกทั้งฟาร์มเลี้ยงสัตว์จะเป็นสาเหตุของน้ำเสียจำนวนมาก ซึ่งหากมีการออกแบบระบบที่เหมาะสม จะสามารถผลิตก๊าซชีวภาพได้จากทั้งมูลสัตว์และน้ำเสียได้เป็นจำนวนมากอัตราส่วนของมูลที่สามารถเก็บได้นี้มีความสำคัญมาก เพราะหากกสิกร หรือเกษตรกร สามารถจัดทำระบบโรงเลี้ยงที่เอื้ออำนวยต่อการไหล และถ่ายเทของมูลสัตว์ที่ถูกขับถ่ายออกมา จะทำให้ปริมาณก๊าซชีวภาพที่ได้มีปริมาณเพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
นอกจากจะสร้าง "ข้าวปลา" ที่เป็น ในแต่ละปี แต่มีไม่มากคนนักที่จะทราบว่า ที่ได้มาจากการเลี้ยงสัตว์ในรูปของ "ก๊าซชีวภาพ (ก๊าซชีวภาพ)"
มาจากสองแหล่งหลักคือ เช่นน้ำเสียจากโรงฆ่าสัตว์หรือ และมาจากมูลสัตว์ (สัตว์มูลสัตว์) ประเทศอัสซีเรีย พบว่าในปี พ.ศ. 2173 ม.ค. Baptita Van Helmont และต่อมาในปี พ.ศ. 2351 เซอร์ฮัมฟรีย์เดวี่ได้พบว่าในบ่อปุ๋ยคอกนั้น โดยมีรายงานว่าในปี พ.ศ. 2402 มีการสร้างระบบที่เรียกว่าการย่อยอาหาร Anaerobic (AD) พืชเป็นครั้งแรกในนิคมโรคเรื้อน Matunga ที่เมืองบอมเบย์ หลังจากนั้น โฆษณา เช่นจากน้ำเสียที่ได้จากโรงงาน ถูกย่อยสลายลดปริมาณลง 1 เดือนระบบ AD ปริมาณส่วนประกอบของ "มีเธน" ที่มีอยู่ประมาณ 55-70% ในก๊าซชีวภาพ 25-35% ซึ่งเป็นก๊าซสะอาดนั่นหมายความว่า เช่นการนำไปใช้ในการหุงต้ม กรมปศุสัตว์พบว่าในปี พ.ศ. 2543 ประเทศไทยมีปริมาณโคกระบือสุกรเป็ดไก่และช้างรวมกันกว่า 214 ล้านตัวมูลของสัตว์ทั้ง 6 (พพ.) เช่นโคเนื้อกระบือเป็ดและช้าง 50% ในขณะที่โคนมสุกรและไก่ อาจสามารถเก็บมูลมาใช้ได้มากถึง 80% ของมูลที่ถ่ายออกมาทั้งหมด ซึ่งหากมีการออกแบบระบบที่เหมาะสม เพราะหากกสิกรหรือเกษตรกร












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นประเทศเกษตรกรรมของประเทศไทยนั้นนอกจากจะสร้าง " ข้าวปลา " ที่เป็น " ของจริง " ให้แก่ชาวไทยและผู้คนทั่วโลกมายาวนานแล้วในแต่ละปีแต่มีไม่มากคนนักที่จะทราบว่านอกจากเหล่าเศษชีวมวลที่ได้จากการเกษตรแล้วภาคเกษตรกรรมยังสร้างชีวมวลอีกประเภทหนึ่งที่ได้มาจากการเลี้ยงสัตว์ในรูปของ " ก๊าซชีวภาพ ( ก๊าซชีวภาพ ) " ที่เปี่ยมด้วยพลังงานที่ให้ค่าที่แน่นอนแหล่งกำเนิดก๊าซชีวภาพที่มีต้นทุนต่ำและมีปริมาณสูงของประเทศมาจากสองแหล่งหลักคือของเสียหรือน้ำเสียจากโรงงานแปรรูปทางการเกษตรเช่นน้ำเสียจากโรงฆ่าสัตว์ค็อคโรงงานผลิตผลไม้หรือเครื่องดื่มกระป๋องมูลสัตว์ ( มูลสัตว์ ) จากฟาร์มเลี้ยงสัตว์ในภาคเกษตรกรรม



โลกกับก๊าซชีวภาพ·ย้อนหลังไปประมาณสามพันปีก่อนประเทศซึ่งเป็นดินแดนในอดีตที่เคยตั้งในแถบตะวันตกของทวีปเอเชียสมัยโบราณคือประเทศแรกที่ได้มีการนำก๊าซชีวภาพไปใช้ในการให้ความร้อนในการต้มน้ำอาบอัสซีเรียในช่วงประมาณห้าร้อยปีที่ผ่านมา
แต่เมื่อพิจารณาถึงหลักฐานการบันทึกในยุโรปพบว่าในปีพ . ศ . 2173 แจนแวน helmont baptita เป็นบุคคลแรกที่ค้นพบว่ามีก๊าซเกิดขึ้นจากการเน่าเปื่อยของซากสารอินทรีย์และต่อมาในปีพ . ศ .เพลงเซอร์ฮัมฟรีย์เดวีได้พบว่าในบ่อปุ๋ยคอกนั้นมีก๊าซมีเธนเกิดขึ้นและน่าจะนำไปใช้ประโยชน์ได้
อย่างไรก็ตามอินเดียเป็นประเทศแรกที่มีการใช้ก๊าซชีวภาพอย่างเป็นระบบจริงจังโดยมีรายงานว่าในปีพ . ศ .พ.ศ. มีการสร้างระบบที่เรียกว่าการหมัก ( AD ) พืชเป็นครั้งแรกในนิคมโรคเรื้อน matunga ที่เมืองบอมเบย์และนำพลังงานชีวภาพที่ได้ไปใช้งานภายในนิคมหลังจากนั้นระบบผลิตก๊าซชีวภาพแบบลงประกาศจะอาศัยเทคโนโลยีที่ทำให้กลุ่มจุลินทรีย์ชนิดที่ไม่ต้องการออกซิเจนในการย่อยสลายสารอินทรีย์หลายชนิดทำหน้าที่หมักย่อยสารอินทรีย์ที่ได้จากแหล่งต่างๆเช่นจากน้ำเสียที่ได้จากโรงงานให้มาอยู่ในรูปของเหลวในสภาพไร้อากาศทำให้สารอินทรีย์จากของเสียดังกล่าวนั้นถูกย่อยสลายลดปริมาณลงและเปลี่ยนรูปไปเป็นมีเธนและคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ในระยะเวลาประมาณ 1 เดือนระบบโฆษณาสิ่งที่ทำให้ก๊าซชีวภาพมีความสำคัญในเชิงพลังงานคือปริมาณส่วนประกอบของ " มีเธน " ที่มีอยู่ประมาณ 55-70 % ในก๊าซชีวภาพ ( ที่เหลือจะประกอบด้วยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 25-35%
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: